กล้องอัจฉริยะที่ใช้เซนเซอร์ Sony IMX500 ทำงานร่วมกับซอฟต์แวร์ AITRIOS

Raspberry Pi ได้รับการลงทุนกลยุทธ์จาก Sony (Semiconductor Solutions Corporation) เพื่อพัฒนาอุปกรณ์ Edge AI โดยใช้แพลตฟอร์ม AITRIOS ของ Sony ยังไม่มีข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์ของ Raspberry Pi/Sony ที่จะเปิดเผยสู่สาธารณะ ดังนั้นฉันค้นหาแพลตฟอร์ม AITRIOS แทน และในปัจจุบันมีแพลตฟอร์มฮาร์ดแวร์เดียว คือ LUCID Vision Labs SENSAiZ SZP123S-001 กล้องอัจฉริยะหรือกล้อง AI ที่ใช้เซนเซอร์ Sony IMX500 intelligent vision sensor ที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานร่วมกับซอฟต์แวร์ AITRIOS ของ Sony LUCID SENSAiZ Smart camera สเปค SENSAiZ SZP123S-001 : เซนเซอร์ภาพ – Sony IMX500 progressive scan CMOS sensor ความละเอียด 12.33MP พร้อม Rolling Shutter, built-in DSP และ SRAM บนชิป สามารถประมวลผล Edge AI ด้วยความเร็วสูงได้ ระยะโฟกัส – 4.35 มม […]

บอร์ด T-HMI ESP32-S3 พร้อมหน้าจอสีทัชสกีน 2.8 นิ้ว, ตัวเชื่อมต่อ Grove 3 พอร์ต

Lilygo ได้เปิดตัวบอร์ด ESP32-S3 อีกหนึ่งรุ่นที่มีจอแสดงผลในตัว ด้วย T-HMI มีหน้าจอสีขนาดใหญ่กว่ารุ่นอื่น 2.8 นิ้วและแผงสัมผัสแบบต้านทานที่เหมาะสำหรับใช้งานกับ HMI (Human Machine Interfaces) นอกจากนี้ยังมีตัวเชื่อมต่อ Grove 3 พอร์ต สำหรับเชื่อมต่อเซนเซอร์หรือแอชูเอเตอร์ (Actuator) T-HMI คล้ายกับกับบอร์ด ESP32-S3 ล่าสุดจาก Lilygo คือมี MCU ESP32-S3R8 WiFi 4 และ Bluetooth พร้อม PSRAM 8MB รวมถึงแฟลช SPI 16MB, microSD card slot, ปุ่มกด และใช้พลังงานจาก USB หรือแบตเตอรี่ LiPo สเปคบอร์ด Lilygo T-HMI: MCU สื่อสารไร้สาย – Espressif Systems ESP32-S3R8 dual-core Tensilica LX7 @ สูงถึง 240 MHz พร้อมคำสั่ง vector instructionsรองรับ AI acceleration, RAM 512KB, PSRAM 8MB , การเชื่อมต่อ wireless ที่เก็บข้อมูล – หน่วยความ […]

โฆษณา

Indiedroid Nova : SBC ที่ใช้ Rockchip RK3588S มีฮีทซิงค์เป็นเคส, พัดลม และ eMMC flash สามารถถอดออกได้

Indiedroid Nova เป็น SBC อีกหนึ่งบอร์ดที่ใช้ Rockchip RK3588S มี form factor เหมือนกับ Raspberry Pi 4, RAM สูงสุด 16GB พร้อมฮีทซิงค์เป็นเคส, ติดตั้งพัดลม (ถ้าจำเป็น) และโมดูลแฟลช ความจุสูงสุด 64GB แบบถอดเปลี่ยนได้เป็นอุปกรณ์เสริม บอร์ด Nova มีการออกแบบ Layout ของพอร์ตที่เกือบเหมือนกับ Raspberry Pi 4 ยกเว้น พอร์ต micro HDMI 1 พอร์ตที่เปลี่ยนเป็นพอร์ต USB Type-C ที่รองรับ DisplayPort ดังนั้นจึงมีพอร์ต Gigabit Ethernet, การเชื่อมต่อ WiFi 5 &  Bluetooth 5.0, พอร์ต USB 3.0 จำนววน 4 พอร์ต, พอร์ต USB 2.0 จำนวน 2 พอร์ต, คอนเนกเตอร์ MIPI CSI และ DSI และอื่นๆ สเปค Indiedroid Nova: SoC – ชิป Rockchip RK3588S CPU –  โปรเซสเซอร์ Octa-core พร้อม 4x Cortex-A76 คอร์ @ สูงสุด 2.2-2.4 GHz, 4x Cortex-A55 คอร์ @ สูงสุด 1.8 GHz […]

บอร์ด Cool Pi CM5 evaluation board มี System-on-Module ที่ใช้ชิป Rockchip RK3588/RK3588J

Cool Pi CM5 คือ System-on-Module ที่ใช้ตัวประมวลผล Rockchip RK3588 (ใช้ในงานทั่วไป) หรือ RK3588J (อุตสาหกรรม) octa-core Arm Cortex-A76/A55 พร้อม RAM สูงสุด 32GB,  eMMC flash 256GB โดยโมดูลนี้มาพร้อมกับบอร์ดพัฒนาที่มีพอร์ตเชื่อมต่อ GbE คู่, มีพอร์ต HDMI 2.1 ความละเอียด 8K จำนวน 2 ช่อง, PCIe 3.0 x2 slot, M.2 NVMe และ SATA storage และอื่นๆ เมื่อปลายปีที่แล้ว เราได้เขียนบทความเกี่ยวกับ Cool Pi 4 ว่าเป็นบอร์ดทางเลือกและเร็วกว่า Raspberry Pi 4 SBC และตอนนี้บริษัทได้เปิดตัว Cool Pi CM5 system-on-module ทางเลือก Raspberry Pi CM4 หรือ Radxa CM5 แต่ใช้ MXM 3.0 edge connector และมาพร้อมกับบอร์ด Evaluation board (EVB) ที่มีคุณสมบัติมากมาย สเปค Cool Pi CM5 EVB: System-on-Module SoC – โปรเซสเซอร์ Rockchip RK3588(J) 8 คอร์ พร […]

DongshanPI-PicoW เป็นบอร์ด Arm Linux ขนาดเล็กที่มีชิป SSW101B USB WiFi, Pin-Header 48 ขา

บอร์ด/โมดูล DongshanPI-PicoW มีเป้าหมายเพื่อเป็นทางเลือกสำหรับ Arm Linux แทน Raspberry Pi Pico W ด้วยตัวประมวลผล SigmaStar SSD210 dual-core Cortex-A7 พร้อม RAM 64MB, ชิป SSW101B USB WiFi 4 และชิปมีขา I/O Pin-Header 4×12 ขา โมดูลนี้ยังมาพร้อมกับหน่วยความจำ SPI flash ขนาด 128MB เพื่อรัน Linux, ใช้ไฟเลี้ยง 5V และมีอินเทอร์เฟสการแสดงผลสูงสุด 1280×800, USB 2.0, อินเทอร์เฟสเสียง และอื่น ๆ ในฟอร์มแฟคเตอร์ขนาดเล็ก 31×31 มม.,  มี Through holes 48 รู และด้านข้างก็มีรูที่เรียกว่า Castellated holes ด้วย สเปค DongshanPI-PicoW: SoC – SigmaStar SSD210 dual-core Arm Cortex-A7 ที่ความเร็วสูงสุด 1.0GHz พร้อม FPU, NEON, MMU, DMA, 2D graphics accelerator, RAM DDR2 64MB บนชิป ที่เก็บข้อมูล – SPI NAND flash 128MB (Winbond […]

บอร์ด Challenger RP2040 UWB มีโมดูล DWM3000 สำหรับระบุตำแหน่งภายในอาคาร, รับส่งข้อมูลสูงสุด 10 Mbps

บอร์ด Challenger RP2040 UWB มาพร้อมกับไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 กับโมดูล DWM300 UWB (Ultra-Wide Band) ใน form factor ของ Adafruit Feather และถูกออกแบบมาสำหรับการระบุตำแหน่งภายในอาคาร (Indoor Positioning) และวัดระยะห่างด้วยความแม่นยำสูงสุดถึง 10 เซนติเมตร และสามารถรับส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงสุดถึง 10 Mbps บอร์ด Challenger RP2040 ตัวแรกของบริษัท iLabs (Invector Labs) เปิดตัวในปี 2021 พร้อมกับชิป WiFi ESP8285 ตามมาด้วย Challenger RP2040 LoRa ที่มีโมดูล RFM95W LoRa และบริษัทฯ ยังมีรุ่นอื่นๆที่รองรับ NFC และการเชื่อมต่อเซลลูลาร์ (Cellular) อีกด้วย บริษัทสวีเดนได้เปิดตัวบอร์ด Challenger รุ่นล่าสุดที่มี Challenger RP2040 UWB โดยใช้เทคโนโลยี UWB  ในการพัฒนา สเปคเบื้องต้นของบอร์ด Challenger RP2040 LoRa: M […]

โฆษณา

รีวิว Cytron CM4 Maker Board – Part 2 : ทดสอบ NVMe SSD, RTC, Buzzer, Grove modules, ChatGPT…

ใน Part 1 ได้ตรวจสอบ CM4 Maker Board สำหรับ Raspberry Pi CM4 และบูตด้วยการใส่ “MAKERDISK” microSD card Class A1 ขนาด 32GB ที่มี Raspberry Pi OS ติดตั้งอยู่ล่วงหน้า, สำหรับ Part 2 ของการรีวิว CM4 Maker เราจะใช้ NVMe SSD ขนาด 128GB ของบริษัทที่ให้มา และทดสอบคุณสมบัติอื่น ๆ ของบอร์ดรวมถึง RTC, Buzzer, โมดูล Grove จาก Seeed Studio และเข้า ChatGPT ให้ช่วยเขียนโปรแกรม Python เพื่อนำมาใช้งาน การบูต Cytron CM4 Maker Board ด้วย “MAKERDISK” NVMe SSD เริ่มจากเชื่อมต่อโมดูล Grove หลายตัวด้วยอินเทอร์เฟซ GPIO และ I2C, Raspberry Pi Camera Module 3, สาย Ethernet, RF dongle 2 ตัวสำหรับคีย์บอร์ดและเมาส์ไร้สาย, สาย HDMI เข้ากับจอภาพ และจอมอนิเตอร์ และเสียบปลั๊กอะแดปเตอร์ USB-C 5V/3.5A ที่ให้มา MAKERDISK SSD มาพร้อมกับ Raspberry P […]

รีวิว: Pico:ed V2 บอร์ดสมองกลเพื่อการเรียนรู้ด้วย Raspberry Pi RP2040

Pico:ed V2 เป็นบอร์ดที่พัฒนาโดยบริษัท ELECFREAKS ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi Pico RP2040 ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในปัจจุบัน มีปุ่ม Bootsel เพื่อให้ผู้ใช้งานสะดวกในการอัพเดทของเฟิร์มแวร์ ได้ง่ายขึ้น มีปุ่มกดอินพุต แบบกดติดปล่อยดับที่สามารถเขียนโปรแกรมรับค่าได้ 2 ปุ่ม มีการแสดงผล LED แบบ Dot Matrix 7×17 ติดตั้งอยู่บนตัวบอร์ดสำหรับการแสดงกราฟฟิกและข้อความ และมีลำโพงแบบพาสซีพบัซเซอร์เพื่อเล่นเสียงเพลงได้หลากหลาย บอร์ด Pico:ed V2 สามารถเขียนโปรแกรมด้วย CircuitPython หรือ C++ ได้  นอกจากนี้มีการออกแบบรูปทรงที่โค้งมนมากขึ้นเพื่มความน่ารัก และมีการออกแบบขอบพินเป็นคลื่นเพื่อให้ผู้ใช้งานไม่เจ็บมือขณะใช้งาน สีสันสดใส ทำให้มีความสวยงามมากขึ้น อีกทั้งยังสามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆที่ใช้กับ BBC micro:b […]

โฆษณา