DongshanPI-PicoW เป็นบอร์ด Arm Linux ขนาดเล็กที่มีชิป SSW101B USB WiFi, Pin-Header 48 ขา

บอร์ด/โมดูล DongshanPI-PicoW มีเป้าหมายเพื่อเป็นทางเลือกสำหรับ Arm Linux แทน Raspberry Pi Pico W ด้วยตัวประมวลผล SigmaStar SSD210 dual-core Cortex-A7 พร้อม RAM 64MB, ชิป SSW101B USB WiFi 4 และชิปมีขา I/O Pin-Header 4×12 ขา โมดูลนี้ยังมาพร้อมกับหน่วยความจำ SPI flash ขนาด 128MB เพื่อรัน Linux, ใช้ไฟเลี้ยง 5V และมีอินเทอร์เฟสการแสดงผลสูงสุด 1280×800, USB 2.0, อินเทอร์เฟสเสียง และอื่น ๆ ในฟอร์มแฟคเตอร์ขนาดเล็ก 31×31 มม.,  มี Through holes 48 รู และด้านข้างก็มีรูที่เรียกว่า Castellated holes ด้วย สเปค DongshanPI-PicoW: SoC – SigmaStar SSD210 dual-core Arm Cortex-A7 ที่ความเร็วสูงสุด 1.0GHz พร้อม FPU, NEON, MMU, DMA, 2D graphics accelerator, RAM DDR2 64MB บนชิป ที่เก็บข้อมูล – SPI NAND flash 128MB (Winbond […]

บอร์ด Challenger RP2040 UWB มีโมดูล DWM3000 สำหรับระบุตำแหน่งภายในอาคาร, รับส่งข้อมูลสูงสุด 10 Mbps

บอร์ด Challenger RP2040 UWB มาพร้อมกับไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 กับโมดูล DWM300 UWB (Ultra-Wide Band) ใน form factor ของ Adafruit Feather และถูกออกแบบมาสำหรับการระบุตำแหน่งภายในอาคาร (Indoor Positioning) และวัดระยะห่างด้วยความแม่นยำสูงสุดถึง 10 เซนติเมตร และสามารถรับส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงสุดถึง 10 Mbps บอร์ด Challenger RP2040 ตัวแรกของบริษัท iLabs (Invector Labs) เปิดตัวในปี 2021 พร้อมกับชิป WiFi ESP8285 ตามมาด้วย Challenger RP2040 LoRa ที่มีโมดูล RFM95W LoRa และบริษัทฯ ยังมีรุ่นอื่นๆที่รองรับ NFC และการเชื่อมต่อเซลลูลาร์ (Cellular) อีกด้วย บริษัทสวีเดนได้เปิดตัวบอร์ด Challenger รุ่นล่าสุดที่มี Challenger RP2040 UWB โดยใช้เทคโนโลยี UWB  ในการพัฒนา สเปคเบื้องต้นของบอร์ด Challenger RP2040 LoRa: M […]

รีวิว Cytron CM4 Maker Board – Part 2 : ทดสอบ NVMe SSD, RTC, Buzzer, Grove modules, ChatGPT…

ใน Part 1 ได้ตรวจสอบ CM4 Maker Board สำหรับ Raspberry Pi CM4 และบูตด้วยการใส่ “MAKERDISK” microSD card Class A1 ขนาด 32GB ที่มี Raspberry Pi OS ติดตั้งอยู่ล่วงหน้า, สำหรับ Part 2 ของการรีวิว CM4 Maker เราจะใช้ NVMe SSD ขนาด 128GB ของบริษัทที่ให้มา และทดสอบคุณสมบัติอื่น ๆ ของบอร์ดรวมถึง RTC, Buzzer, โมดูล Grove จาก Seeed Studio และเข้า ChatGPT ให้ช่วยเขียนโปรแกรม Python เพื่อนำมาใช้งาน การบูต Cytron CM4 Maker Board ด้วย “MAKERDISK” NVMe SSD เริ่มจากเชื่อมต่อโมดูล Grove หลายตัวด้วยอินเทอร์เฟซ GPIO และ I2C, Raspberry Pi Camera Module 3, สาย Ethernet, RF dongle 2 ตัวสำหรับคีย์บอร์ดและเมาส์ไร้สาย, สาย HDMI เข้ากับจอภาพ และจอมอนิเตอร์ และเสียบปลั๊กอะแดปเตอร์ USB-C 5V/3.5A ที่ให้มา MAKERDISK SSD มาพร้อมกับ Raspberry P […]

รีวิว: Pico:ed V2 บอร์ดสมองกลเพื่อการเรียนรู้ด้วย Raspberry Pi RP2040

Pico:ed V2 เป็นบอร์ดที่พัฒนาโดยบริษัท ELECFREAKS ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi Pico RP2040 ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในปัจจุบัน มีปุ่ม Bootsel เพื่อให้ผู้ใช้งานสะดวกในการอัพเดทของเฟิร์มแวร์ ได้ง่ายขึ้น มีปุ่มกดอินพุต แบบกดติดปล่อยดับที่สามารถเขียนโปรแกรมรับค่าได้ 2 ปุ่ม มีการแสดงผล LED แบบ Dot Matrix 7×17 ติดตั้งอยู่บนตัวบอร์ดสำหรับการแสดงกราฟฟิกและข้อความ และมีลำโพงแบบพาสซีพบัซเซอร์เพื่อเล่นเสียงเพลงได้หลากหลาย บอร์ด Pico:ed V2 สามารถเขียนโปรแกรมด้วย CircuitPython หรือ C++ ได้  นอกจากนี้มีการออกแบบรูปทรงที่โค้งมนมากขึ้นเพื่มความน่ารัก และมีการออกแบบขอบพินเป็นคลื่นเพื่อให้ผู้ใช้งานไม่เจ็บมือขณะใช้งาน สีสันสดใส ทำให้มีความสวยงามมากขึ้น อีกทั้งยังสามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆที่ใช้กับ BBC micro:b […]

ESPi : เป็นบอร์ด Ethernet และมีหน้าจอ พร้อมกับโมดูล ESP32-S3 หรือบอร์ด Raspberry Pi Pico W (Crowdfunding)

บอร์ด ESPi ของ SB Components เป็นบอร์ด Ethernet ที่รองรับ WiFi พร้อมหน้าจอสีขนาด 1.14 นิ้ว มาพร้อมกับโมดูล ESP32-S3 WiFi และ Bluetooth หรืออีกรุ่นที่ออกแบบเป็นบอร์ด carrier สำหรับบอร์ด Raspberry Pi Pico W บอร์ด ESPi สามารถทำหน้าที่เป็นเกตเวย์เชื่อมต่อ Ethernet 10/100Mbps to WiFi (หรือ BLE) พร้อมจอแสดงผล TFT ขนาดเล็ก และยังมีจอยสติ๊กขนาดเล็กบนบอร์ดเพื่อควบคุมเมนูหรืออินเตอร์เฟสผู้ใช้ที่แสดงในจอแสดงผล สเปคของบอร์ด ESPi: โมดูล/บอร์ด (อย่างใดอย่างหนึ่ง) โมดูล ESP32-S3-WROOM-1 พร้อม ESP32-S3 dual-core LX7 microprocessor @ สูงสุด 240 MHz พร้อม Vector extension สำหรับ machine learning, หน่วยความจำแฟลชสูงสุด 16MB, PSRAM สูงสุด 8MB, WiFi 4 และ Bluetooth 5 พร้อม LE/Mesh บอร์ด Raspberry Pi Pico W พร้อมไมโครคอนโทรลเลอร์ Ra […]

Adafruit Feather RP2040 พร้อม RFM95 LoRa Radio สำหรับการสื่อสาร IoT แบบ Long Range ใช้พลังงานต่ำ

Adafruit ได้ออกแบบ บอร์ด Feather RP2040 รุ่นใหม่ชื่อ “Adafruit Feather RP2040 พร้อม RFM95 LoRa Radio” ใช้โมดูล RFM95 “RadioFruit” ความถี่ 900 MHz และเป็นรุ่นที่ต่อจาก “Adafruit Feather RP2040 พร้อม DVI Output Port” ที่เราเขียนบทความไปแล้ว บอร์ดมาพร้อมกับหน่วยความจำแบบ QSPI Flash ขนาด 8 MB รองรับพลังงานแบตเตอรี่ USB-C หรือ LiPo, ตาม form factor ของ Adafruit Feather และโมดูล RFM95 ที่มีอยู่บนบอร์ด รองรับความถี่ 433 MHz, 868MHz และ 915MHz ซึ่งสามารถเลือกใช้ได้จาก firmware เพื่อรองรับการใช้งานครอบคลุมทั่วโลก สเปค Adafruit Feather RP2040 พร้อม RFM95 LoRa Radio : MCU – ไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 dual-core Arm Cortex M0+ @ 133 MHz พร้อม RAM 264 KB ที่เก็บข้อมูล – หน่วยความจำแบบ QSPI Flash […]

การเพิ่ม Z-Wave LR (Long Range) ให้ Raspberry Pi หรือ Home Assistant Yellow

เราเคยเขียนบทความเกี่ยวกับมาตรฐานใหม่ Z-Wave Long Range (LR) หรือที่เรียกว่า “Z-Wave Plus LR” ที่มีความสามารถในการส่งสัญญาณได้ไกลถึง 4 เท่าและอายุแบตเตอรี่สูงสุดถึง 10 ปี ในเดือนกันยายน 2020 และไม่ค่อยได้ข่าวอะไรเกี่ยวกับเรื่องนี้จนกระทั่ง ตอนนี้ Zooz ได้เปิดตัว ZST39 LR USB Stick และ ZAC93 LR โมดูล GPIO ที่ใช้ชิป Z-Wave 800 Series พร้อมโมดูล GPIO รองรับการใช้งานกับ Home Assistant Yellow และ Raspberry Pi SBCs ZAC93 LR โมดูล GPIO ที่ใช้ Zooz 800 Series รองรับ Z-Wave Long Range สเปค ZAC93 LR: ความถี่ Z-Wave – 908.42 MHz (สหรัฐฯ, แคนาดา, MX) / 921.4 MHz (ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์สามารถใช้ในประเทศไทยได้) / 868.42 MHz (ยุโรป) ระยะการสื่อสารไร้สาย – สูงสุด 1 ไมล์/1.6 กม. ในพื้นที่เปิดโล่งเมื่อเปิดใช้งาน Long Range (สูงส […]

Wokwi : จำลองการทำงานออนไลน์ของ ESP32, Arduino, และ Raspberry Pi Pico

Wokwi เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำงานบนหน้าเว็บออนไลน์ สามารถเขียนโปรแกรมและจำลอง (Simulator) การทำงานของบอร์ด Arduino, Raspberry Pi Pico และ ESP32 หรือบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ที่ออกแบบมาเพื่อเรียนรู้การเขียนโปรแกรมโดยไม่ต้องใช้ฮาร์ดแวร์จริง “ลูกสาวของฉัน” ได้เข้าร่วมโครงการอบรมหลักสูตรออนไลน์ฟรีเกี่ยวกับ AI, IoT, ESP32, MicroPython และอื่นๆ ระยะเวลา 5 วัน ที่จัดขึ้นโดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง (KMITL) ร่วมกับ ไอเมค (IMAKE) และกลุ่มพันธมิตร ฉันได้เห็นการบ้านของเขาเกี่ยวกับ ESP32 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร ฉันถามว่าต้องการบอร์ด ESP32 หรือไม่ แต่เขาบอกว่าไม่ต้องการ ดังนั้นฉันจึงถามถึงวิธีการเรียนการสอนการเขียนโปรแกรม ESP32 โดยไม่ใช้บอร์ดของจริง หรือใช้โปรแกรมอะไร และฉันได้รับ […]

Exit mobile version