Intel Soft Router ใช้ซีพียู Comet Lake หรือ Whiskey Lake และมีพอร์ตเชื่อมต่อ 2.5GbE จำนวน 8 ช่อง

Intel mini router eight 2.5GbE ports

Topcon เปิดตัว Soft Router ใช้โปรเซสเซอร์ Intel Whisky Lake หรือ Comet Lake สูงสุด Quad-core/octa-thread Core i7-10510U พร้อมพอร์ต RJ45 2.5GbE จำนวน 8 ช่อง หรือพอร์ต RJ45 2.5GbE จำนวน 4 ช่อง และพอร์ต SFP+ cages 10GbE จำนวน 2 ช่อง เราได้เคยเขียนบทความเกี่ยวกับ InuoMicro G4305L8-S2 กล่องพีซีอุตสาหกรรมแบบไม่มีพัดลม พร้อมอินเทอร์เฟส 2.5GbE 8 ช่อง แต่ใช้โปรเซสเซอร์ Intel Celeron 4305UE dual-core Whiskey Lake และ Topcon ใช้โปรเซสเซอร์ที่มีประสิทธิภาพที่มากกว่าด้วยทางเลือก Intel Core i3/i5/i7 Whiskey Lake รุ่นที่ 8 หรือ 10 หรือ Comet Lake SoC สเปค: SoC (เลือกหนึ่งอัน) Intel Core i3-8145UE dual-core Whiskey Lake processor สูงสุด 3.90 GHz พร้อม Intel UHD Graphics 620; 15W TDP Intel Core i5-10210U quad-core/eight-thread […]

Qualcomm 212S และ 9205S : Satellite IoT modem สำหรับตรวจสอบอุปกรณ์จากระยะไกลและระบบติดตามตำแหน่งอุปกรณ์

Qualcomm 212S block diagram

Qualcomm เปิดตัว Qualcomm 212S และ Qualcomm 9205S เป็น Satellite IoT modem ที่พัฒนาร่วมกับ Skylo, ผู้ให้บริการ NTN เพื่อให้สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ IoT กับเครือข่ายดาวเทียมและเครือข่าย Cellularสำหรับแอปพลิเคชันตรวจสอบอุปกรณ์จากระยะไกล (Remote monitoring) และระบบติดตามตำแหน่งอุปกรณ์ (Asset tracking) เมื่อต้นปี Qualcomm ได้เปิดตัว Snapdragon Satellite การส่งข้อความแบบ two-way บนสมาร์ทโฟน แต่ตอนนี้บริษัทได้ขยายการใช้การเชื่อมต่อข้อมูลผ่านดาวเทียมด้วยโมเด็ม Qualcomm 212S และ 9205S ที่ได้รับการปรับแต่งเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน ที่ใช้ NTN (Non-Terrestrial Networks) Qualcomm 212S Satellite IoT modem สเปค Qualcomm 212S (QCX212S) modem CPU – Arm Cortex-M3 CPU @ สูงสุด 204 MHz การเชื่อมต่อ Cellular เทคโนโลยี Cellular – R […]

PiccoloBASIC – BASIC interpreter สำหรับบอร์ด Raspberry Pi Pico

Raspberry Pi Pico BASIC

PiccoloBASIC เป็น BASIC interpreter หรือ โปรแกรมที่ทำหน้าที่แปลภาษา BASIC แบบ open-source สำหรับบอร์ดพัฒนา Raspberry Pi Pico ที่ใช้ “uBASIC: a really simple BASIC interpreteu” ของ Adam Dunkels และใช้ระบบไฟล์ LittleFS fail-safe filesystem ของ Arm สำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์ ถ้าฉันจำไม่ผิดประสบการณ์การใช้คอมพิวเตอร์ครั้งแรกของฉันคือที่โรงเรียน (ที่ฝรั่งเศส) เราใช้คอมพิวเตอร์ Thomson TO7 ที่เขียนโปรแกรมด้วยภาษา BASIC ฉันไม่คิดว่าภาษานี้ถูกใช้งานในแอปพลิเคชันจริงๆ แต่เรายังคงเห็นโปรเจ็กต์พื้นฐานปรากฏขึ้นเป็นครั้งคราว เช่น ตัวแปลภาษา สำหรับบอร์ด Arduino Zero และตอนนี้ Gary Sims เจ้าของช่อง YouTube Gary Explains ได้ทำการพอร์ตตัวแปลภาษา BASIC interpreter ไปยังบอร์ด Raspberry Pi Pico โครงการยังอยู่ในระหว่างการพ […]

Qualcomm S3 Gen 2 : แพลตฟอร์มเสียงรองรับ Bluetooth LE Audio และ Auracast broadcast audio

Qualcomm S3 Gen 2 Sound Platform

Qualcomm S3 Gen 2 Sound Platform (QCC5181) เป็นแพลตฟอร์มเสียงโซลูชัน Bluetooth 5.4 audio ที่ออกแบบมาสำหรับดองเกิลและอะแดปเตอร์ที่มี ultra-low latency (<20 มิลลิวินาที) และรองรับมาตรฐาน Bluetooth LE Audio และ Bluetooth Auracast broadcast audio แพลตฟอร์มนี้ได้เปิดตัวเมื่อปีที่แล้ว แต่บริษัทกล่าวว่าตอนนี้ได้เปิดตัว “newly enhanced solution” เป็นโซลูชั่นใหม่ที่ปรับให้เหมาะกับการเล่นเกม ซึ่ง “รวม Snapdragon Sound และ LE Audio เพื่อให้ได้ ultra-low latency น้อยกว่า 20ms เพื่อไม่ให้เกิด lag-free หรือเสียงช้ากว่าภาพ สำหรับเสียงไร้สาย (wireless audio) ในการสนทนาในเกม” โซลูชันใหม่นี้ยังมุ่งเน้นไปที่ USB dongles และอะแดปเตอร์ เนื่องจาก Hosts หลายตัวยังไม่รองรับ Bluetooth 5.4 ในขณะนี้ สเปค Qualcomm S3 Gen 2 (QCC51 […]

บอร์ดเราเตอร์ WiFi 7 “Banana Pi BPI-R4” ใช้ชิปประมวลผล MediaTek Filogic 880

Banana Pi R4

Banana Pi BPI-R4 เป็นบอร์ดเราเตอร์ WiFi 7 ที่ใช้ชิปประมวลผล MediaTek MT7988A (Filogic 880) Quad-core Arm Corex-A73 พร้อม RAM DDR4 4GB , eMMC flash 8GB และSPI-NAND flash 128MB บอร์ดยังมาพร้อมกับสองช่อง 10GbE SFP cages, สี่พอร์ต Gigabit Ethernet RJ45 , พอร์ต USB 3.2 และ M.2 socket สำหรับโมเด็ม 4G/5G หรือ NVMe SSD และ mini PCIe slots สองช่องพร้อม PCIe 3.0 เพื่อรองรับ WiFi 7 สเปค Banana Pi BPI-R4: SoC – MediaTek MT7988A (Filogic 880)โปรเซสเซอร์ Quad-core Arm Corex-A73 @ 1.8GHz พร้อม AI-powered packet accelerator หน่วยความจำ – RAM DDR4 4GB พื้นที่เก็บข้อมูล – eMMC flash 8GB, SPI NAND Flash 128MB, ช่องเสียบ microSD card slot, M.2 Key M สำหรับ NVMe SSD (ดูรายละเอียดในส่วนการขยาย) ระบบเครือข่าย 2x 10GbE SFP cages (ตัวเ […]

NOVELDA เปิดตัว เซนเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหวใช้เทคโนโลยี UWB ใช้พลังงานต่ำกว่า 100 µW

NOVELDA UWB presence sensor

NOVELDA เปิดตัว ultra-wideband (UWB) radar presence sensor เป็นเซนเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหวโดยใช้เทคโนโลยี UWB ที่ใช้พลังงานต่ำกว่า 100 µW และออกแบบมาเพื่อใช้งานกับแบตเตอรี่ AAA สองก้อนได้นานถึง 4 ปี เราเขียนบทความเกี่ยวกับ NOVELDA เป็นครั้งแรกในปี 2021 ได้กล่าวถึง UWB X4 เซนเซอร์ที่สามารถตรวจจับการเคลื่อนไหวในระดับมิลลิเมตรด้วยการใช้พลังงานต่ำกว่า 2mW บริษัทได้ปรับปรุงเทคโนโลยีให้เหมาะสมยิ่งขึ้น และได้สร้างโมดูลขนาด 30×5 มม.ในลักษณะเดียวกันโดยใช้พลังงาน 0.1mW เซนเซอร์นี้ทำงานหลังวัสดุต่างๆ เช่น พลาสติก กระจกนิรภัย และเซรามิก ขนาดและรูปร่างของโซนการตรวจจับสามารถปรับเปลี่ยนได้เพื่อให้ตรงกับความต้องการในการใช้งาน และอุปกรณ์จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับมุมและระยะที่แม่นยำ เซนเซอร์ตรวจจับเรดาร์ UWB พลังงานต่ำ รุ่นใหม่ […]

บอร์ดที่ใช้ Amlogic S928X Cortex-A76/A55 SoC สำหรับกล่องทีวี 8K

Amlogic S928X 8K TV box board

“YB910_428_V1.0” เป็นบอร์ดที่ใช้ Amlogic S928X penta-core Cortex-A76/A55 ที่ออกแบบมาสำหรับกล่องทีวี 8K มี RAM สูงสุด 8GB, พอร์ต HDMI 2.1a, เชื่อมต่อเครือข่าย Gigabit Ethernet และ WiFi, พอร์ต S/PDIF แบบออปติคอล, audio jack 3.5 มม. และพอร์ต USB 3.2/2.0 เราเห็นกล่องทีวี Amlogic S928X จากผู้ผลิตเช่น SEI Robotics และ SDMC แต่บริษัทเหล่านั้นส่วนใหญ่เน้นส่งเสริมธุรกิจกับผู้ให้บริการและฉันยังไม่เห็นอุปกรณ์ Amlogic S928X ที่ขายปลีก บอร์ด YB910 อาจแสดงว่าเรากำลังจะได้เห็นอุปกรณ์ S928X ที่จำหน่ายในตลาดเร็วๆ นี้ ข้อกำหนดของบอร์ด YB910: SoC –Amlogic S928X CPU – โปรเซสเซอร์ Penta-core พร้อม 1x Cortex-A76 core, 4x Cortex-A55 cores GPU – Arm Mali-G57 MC2 GPU พร้อมรองรับ OpenGL ES 3.2, Vulkan 1.2 และ OpenCL 2.0 VPU (Video Proce […]

Particle เปิดตัว Photon 2 : บอร์ด IoT dual-band WiFi และ BLE ใช้ชิป Realtek RTL8721DM และเปิดตัวโมดูล Particle P2

Particle Photon 2

Particle ได้เปิดตัว Photon 2 เป็นบอร์ด IoT dual-band WiFi และ BLE  ที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ Realtek RTL8721DM Arm Cortex-M33 ความเร็ว 200 MHz และยังเปิดตัวโมดูล Particle P2 ที่ออกแบบมาเพื่อให้สามารถนำไปใช้งานร่วมกับผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ บอร์ด IoT WiFi “Spark Photon” รุ่นเดิมเปิดตัวในปี 2014 ที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32 และโมดูลสื่อสารไร้สาย BCM43362 แต่ตลาดและการเปลี่ยนชื่อบริษัทได้เปลี่ยนแปลงไป และตอนนี้ Particle ได้เปิดตัวบอร์ด Photon 2 และโมดูล P2 ที่ทันสมัยกว่าเดิม ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ Cortex-M33 WiFi & BLE พร้อมรองรับคุณลักษณะด้านความปลอดภัย เช่น Arm TrustZone สเปค Particle Photon 2 : Wireless MCU – Realtek RTL8721DM CPU – Arm Cortex-M33 core @ 200 MHz หน่วยความจำ – embedded SRAM 4.5MB ซึ่งมี 3072 KB ( […]