RAKwireless Blues.ONE ชุดพัฒนา IoT รองรับการเชื่อมต่อ LoRaWAN, LTE-M และ NB-IoT พร้อม Blues NoteCard

Blues.ONE LTE M NB IoT devkit

RAKwireless Blues.ONE เป็นชุดพัฒนา IoT รองรับการเชื่อมต่อ LoRaWAN และรองรับการเชื่อมต่อเซลลูล่าร์แบบ LTE-M และ NB-IoT ผ่าน Blues NoteCard พร้อม Data package  500 MB. สามารถใช้งานได้นานถึง 10 ปี ชุดพัฒนาใช้ระบบต้นแบบ WisBlock modular IoT พร้อมด้วย RAK13102 WisBlock Blues Notecarrier, Blues NoteCard, บอร์ดฐาน WisBlock และโมดูล WisBlock Core สามารถใช้เพื่อสร้างต้นแบบหรือพัฒนาอุปกรณ์ IoT สำหรับระบบอัตโนมัติทางอุตสาหกรรมและการติดตามตำแหน่งอุปกรณ์ (asset-tracking) สเปค Blues.ONE: RAK4631 WisBlock Core Module SoC – Nordic nRF52840 ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arm Cortex-M4F @ 64 MHz พร้อม Flash 1 MB, RAM 256 KB, Bluetooth Low Energy 5.0 protocol stack LoRaWAN – Semtech SX1262 LoRa Transceiver พร้อม LoRaWAN 1.0.2 protocol s […]

รีวิว : มินิพีซี GEEKOM A5 ที่ใช้ AMD Ryzen 7 5800H แกะกล่องและลองใช้ (Part 1)

GEEKOM A5 AMD Ryzen 7 5800H

GEEKOM A5 เป็นมินิพีซีที่ใช้โปรเซสเซอร์ AMD Ryzen 7 5800H, หน่วยความจำ RAM สูงสุด 64GB, NVMe/SATA SSD รองรับสูงสุด 2TB, อินเทอร์เฟส เช่นพอร์ต HDMI 2.0, USB Type-C, USB Type-A, 2.5GbE และอื่นๆ,  รองรับ WiFi 6E และ Bluetooth 5.2 และมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Windows 11 Pro บริษัท GEEKOM ได้ส่งมินิพีซี A5 โปรเซสเซอร์ AMD Ryzen 7 5800H พร้อม RAM 32GB, SSD M.2 512GB มาให้ฉันรีวิวในครั้งนี้ Part วันนี้เราจะดูข้อมูลสเปคของมินีพีซีแล้ว,จะเปิดดูแพ็คเกจที่ให้มา, แกะเครื่องดูข้างใน,  และจะลองเปิดเครื่องใช้งานดู  และจะทดสอบประสิทธิภาพบน Windows 11 และ Ubuntu ใน Part ต่อไป สเปค มินิพีซี GEEKOM A5 : SoC – AMD Ryzen 7 5800H processor 8 cores และ 16 threads ความเร็วสูงสุด 4.4 GHz พร้อม cache 16MB, AMD Radeon Vega 8 Graphics, ค่า […]

โฆษณา

Radxa Zero 3W : บอร์ด SBC ที่ใช้ SoC Rockchip RK3566, RAM สูงสุด 8GB ในรูปแบบ Raspberry Pi Zero 2 W

RADXA Zero 3W

มีบอร์ด SBC ที่คล้ายกับ Raspberry Pi Zero 2 W มากขึ้นในตลาด รวมถึง Orange Pi Zero 2W ที่ใช้ Allwinner H618 ที่เปิดตัวไปแล้ว, และตอนนี้ Radxa ได้เปิดตัว Zero 3W พร้อมกับโปรเซสเซอร์ Rockchip RK3566 ความเร็ว 1.6 GHz และ RAM สูงสุด 8GB ทำให้เป็นหนึ่งในบอร์ด Arm Linux SBC ที่ทรงพลังที่สุด ใช้รูปแบบขนาดเล็กที่เป็นตามบอร์ด Raspberry Pi Zero 2 W form factor บอร์ดยังมาพร้อมกับตัวเลือก eMMC flash ที่รองรับความจุสูงสุดถึง 64GB, ช่องเสียบ microSD card, พอร์ต micro HDMI, พอร์ต USB Type-C จำนวน 2 พอร์ต, การเชื่อมต่อไร้สาย WiFi 4 และ Bluetooth 5.0, คอนเนกเตอร์กล้อง MIPI CSI และ GPIO header 40 ขาที่เป็นมาตรฐานของ Raspberry Pi สเปค Radxa Zero 3W: SoC – Rockchip RK3566 CPU – โปรเซสเซอร์ Quad-core Arm Cortex-A55 @ 1.6 GHz ( […]

Panel PC อุตสาหกรรม ที่ใช้ Raspberry Pi CM4 เพิ่ม 4G LTE, RS232 และ RS485, SSD M.2 NVMe

10.1 inch Raspberry Pi CM4 panel PC

EDATEC ED-HMI2120-101C เป็น Industrial Panel PC หรือคอมพิวเตอร์สำหรับงานอุตสาหกรรมที่รวมจอแสดงผล ที่ใช้ Raspberry Pi CM4 พร้อมหน้าจอระบบสัมผัสแบบ capacitive ขนาด 10.1 นิ้ว พร้อมอินเทอร์เฟสมากมายเพื่อเพื่อตอบสนองต่อการใช้งานในหลากหลาย ตั้งแต่หุ่นยนต์ไปจนถึงการจัดการพลังงานและระบบอัตโนมัติทางอุตสาหกรรม Panel PC เป็นรุ่นต่อยอดจาก ED-HMI2020-101C ที่เปิดตัวไปเมื่อไม่กี่เดือนนี้ แต่ได้เพิ่มคุณสมบัติมากมายด้วยอินเทอร์เฟส dual Ethernet, RS485 และ RS232 และตัวเลือกรองรับ M.2 NVMe SSD และการเชื่อมต่อเซลลูลาร์ 4G LTE โดยอุปกรณ์รองรับช่วงอินพุต DC ที่กว้างขึ้นตั้งแต่ 9V ถึง 36V และมีเอาต์พุต DC 12V จำนวน 3 ช่องเพื่อจ่ายไฟให้กับฮาร์ดแวร์ภายนอก เช่น LCD เพิ่มเติม สเปค ED-HMI2120-101C (ความแตกต่างกับรุ่นก่อน ED-HMI2020-101C […]

เปิดตัว Linux 6.6 : การเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจของสถาปัตยกรรม Arm, RISC-V และ MIPS

Linux 6.6 release

Linus Torvalds ได้ประกาศเปิดตัว Linux 6.5 บน Linux Kernel Mailing List (LKML). เมื่อประมาณ 2 เดือนที่ผ่านมาได้เปิดตัว Linux 6.5 ที่มาพร้อมการรองรับเบื้องต้นสำหรับ USB4 v2 ที่มีความเร็วสูงสุดถึง 80Gbps, การอัพเกรดการรองรับ Rust, สถาปัตยกรรม Loongarch ได้รับการรองรับสำหรับ simultaneous multi-threading (SMT) และการสร้างด้วย Clang compiler, การเพิ่มส่วนขยายการอนุญาต หรือ permission-indirection extension (PIE) สำหรับ arm64 ในการกำหนดสิทธิด้านความปลอดภัยในอนาคต, การรองรับบอร์ด NVIDIA IGX Orin และ Jetson Orin Nano, และการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ อีกมากมาย มีอะไรที่น่าสนใจใน Linux 6.6 การเปลี่ยนแปลงและการอัปเดตที่น่าสนใจใน Linux 6.6 kernel ได้แก่: การรองรับฮาร์ดแวร์ Shadow Stack ของ Intel เพื่อป้องกันการใช้ช่องโหว่ Shadow Sta […]

Qualcomm Snapdragon 8 Gen 3 รองรับ upstream Linux

Qualcomm Snapdragon 8 Gen3 Android 14 upstream Linux (1)

Linaro ได้ประกาศรองรับการ upstream Linux สำหรับแพลตฟอร์มมือถือ Snapdragon 8 Gen 3 ที่เพิ่งเปิดตัว ซึ่งมีชื่อรหัสว่า SM8650 ชุด patch ใหม่ที่ออกมาทำให้ Android 14 AOSP สามารถบูตด้วย mainline Linux บนฮาร์ดแวร์ Snapdragon 8 Gen 3 โดยใช้ Google SwiftShader CPU ที่ใช้ Vulkan graphics API. มีการพูดถึงอย่างมากเกี่ยวกับการเปิดตัวของ Snapdragon X Elite ซึ่งเป็นตัวประมวลผล Arm 12-core สำหรับโน๊ตบู๊ก ในช่วงไม่กี่วันที่ผ่านมา และ Qualcomm ยังได้เปิดตัวโปรเซสเซอร์ระดับพรีเมียมล่าสุดด้วยแพลตฟอร์มมือถือ Snapdragon 8 Gen 3 สำหรับโทรศัพท์มือถือที่มี Cortex-X4 core 3.3 GHz, ห้า Cortex A720 Performance cores,และสอง Cortex A520 efficiency cores รวมถึงการรองรับ generative AI ผ่าน AI accelerators ประกาศเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม และ Lina […]

โฆษณา

CanMV-K230 : บอร์ดพัฒนา AI ที่ใช้ Kendryte K230 โปรเซสเซอร์ RISC-V dual-core 64 บิต

CanMV-K230 development board

CanMV-K230 เป็นบอร์ดพัฒนาในขนาดเท่าบัตรเครดิตสำหรับการใช้งาน AI และ computer vision ที่ใช้ Kendryte K230 โปรเซสเซอร์ RISC-V แบบ dual-core 64 บิต พร้อม built-in KPU (Knowledge Process Unit)  และอินเทอร์เฟส เช่น อินพุต MIPI CSI และ Ethernet Kendryte K210 โปรเซสเซอร์ RISC-V AI รุ่นแรกเปิดตัวในปี 2018 ซึ่งฉันเคยทดสอบกับบอร์ด Grove AI HAT และ Maixduino และรู้สึกสนุกกับทดลองใช้งาน แต่มีประสิทธิภาพที่จำกัด ต่อจากนั้นบริษัทได้เปิดตัว K510 โปรเซสเซอร์ AI ระดับกลาง พร้อม AI accelerator 3 TOPS ที่ทรงพลังยิ่งขึ้น และ K230 รุ่นที่ต่อยอดมาจากรุ่น K210 ซึ่งได้รวางแผนไว้สำหรับปี 2022 ในแผนงานปี 2021 ตอนนี้เพิ่งเปิดตัวและถูกรวมเข้ากับบอร์ดพัฒนา CanMV-K230 สเปค CanMV-K230: SoC – Kendryte K230 CPU โปรเซสเซอร์ RISC-V 64 บิต ที่ควา […]

รีวิวอุปกรณ์เทคโนโลยี Z-Wave – RaZberry 7 Pro และ Z-Uno2

RaZberry 7 Pro & Z Uno2

เมื่อเร็วๆนี้เราได้รับ RaZberry 7 Pro และ Z-Uno2 ซึ่งเป็นอุปกรณ์ Smart Home ที่ใช้ Z-Wave เทคโนโลยีจากบริษัท Z-Wave.Me มาทำการทดสอบ บริษัทนี้สร้างผลิตภัณฑ์บน Z-Wave เทคโนโลยีเป็นหลัก และเป็นสมาชิกของ Z-Wave Alliance สำหรับหลายคนที่ปวดหัวกับปัญหาของคลื่นความถี่ที่ทับซ้อนกันมากมายในย่าน 2.4GHz (Wifi, Zigbee,Thread) เทคโนโลยี Z-Wave เป็นทางเลือกที่ดีมากๆ เพราะใช้คลื่นความถี่ในย่าน 800-900 MHz ที่แออัดน้อยลง นอกเหนือจากนั้นเทคโนโลยี Z-Wave ยังมีมาช้านานกว่า 20 ปี ทำให้มีอุปกรณ์ที่ใช้ Z-Wave มากมายในท้องตลาดและสามารถใช้ร่วมกันข้ามค่ายได้เป็นอย่างดีซึ่งเป็นข้อดีอีกข้อนึงถ้าจะเปรียบเทียบกับโปรโตคอลอื่นๆ อุปกรณ์ที่เราได้รับมีสองชิ้นคือ RaZberry 7 Pro ซึ่งเป็น Shield ที่เสียบลงบน GPIO ของ Raspberry Pi เพื่อทำให้ Raspber […]

โฆษณา