รีวิว Radxa X4 Kit : บอร์ด SBC ที่ใช้ Intel N100 – แกะกล่องและติดตั้ง Ubuntu 24.04 (Part 1)

บริษัท Radxa เป็นบริษัทนวัตกรรมที่มุ่งเน้นในด้านซิงเกิ้ลบอร์ด ได้เปิดตัวคอมพิวเตอร์ซิงเกิ้ลบอร์ดที่มีการเลือกใช้โปรเซสเซอร์ Intel N100 แทนที่จะเป็น SOC แบบ Arm และมีไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 รวมอยู่ด้วยบนบอร์ดในชื่อ Radxa X4 ความน่าสนใจคือ Radxa X4 เป็นบอร์ดคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีฟอร์มแฟคเตอร์คล้ายกับบอร์ด Raspberry Pi 5 แต่มีความแตกต่างที่สำคัญ โดย Radxa X4 ใช้โปรเซสเซอร์ Intel “Alder Lake N” N100 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่าและรวมถึงมีการใช้งาน Raspberry Pi RP2040 ไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อใช้งานในการควบคุม GPIO จำนวน 40 พิน นอกจากนี้บอร์ดยังมาพร้อมกับการเชื่อมต่อแบบ M.2 M-key ที่รองรับ PCI Express 3.0 4-lane  และ Wi-Fi 6 ทำให้ Radxa X4 เป็นตัวเลือกที่น่าสนใจสำหรับผู้ที่ต้องการบอร์ดคอมพิวเตอร […]

บอร์ด LILYGO T-ETH-ELite ที่ใช้ ESP32-S3 มีพอร์ต Ethernet ที่รองรับ PoE, รองรับโมดูล LoRaWAN และ Cellular ติดตั้งแบบซ้อนกัน

LILYGO T-ETH-Elite เป็นบอร์ด IoT ที่ใช้ ESP32-S3 ซึ่งมีพอร์ต Ethernet RJ45 ที่รองรับ PoE และ GPIO header 40-pin สำหรับการติดตั้งบอร์ด shield ที่สามารถนำไปต่อแบบซ้อนกัน (Stackable) โดยรองรับการเชื่อมต่อ LoRaWAN, 2G, NB-IoT, และ/หรือ 4G LTE บอร์ด ESP32-S3 ช่วยให้ผู้ใช้สามารถสร้างเกตเวย์ที่มีการเชื่อมต่อ Ethernet, WiFi, Bluetooth, GNSS, LoRaWAN และการเชื่อมต่อเซลลูล่าร์ (2G, NB-IoT, 4G LTE) และผู้ใช้สามารถสลับโมดูลเซลลูล่าร์เพื่อให้ตรงตามความต้องการได้อย่างง่ายดาย สเปคของ LILYGO T-ETH-Elite: โมดูลไร้สาย – Espressif ESP32-S3-WROOM-1 MCU – ESP32-S3R8 ไมโครคอนโทรลเลอร์ Tensilica LX7 dual-core ความเร็วสูงสุด 240 MHz พร้อม SRAM 512KB, PSRAM สูงสุด 8MB ที่เก็บข้อมูล – flash 16MB การเชื่อมต่อ – WiFi 4 และ Bluetooth LE 5 […]

โฆษณา

รีวิว LattePanda Mu : Compute Module x86 ที่ใช้ซีพียู Intel N100 พร้อมทดสอบประสิทธิภาพบน Ubuntu 24.04

หลังจากที่เราได้แกะกล่องและทดสอบ LattePanda Mu พร้อมอุปกรณ์เสริมไปแล้วบน Windows ซึ่งได้ทดสอบการใช้งาน Lite Carrier Board และ Full-Function Evaluation ไปแล้วในรีวิวแกะกล่องและทดสอบการใช้งานบน Windows นั้น ในรีวิวนี้เราจะมาทดสอบใช้งาน LattePanda Mu บนระบบปฎิบัติการ Ubuntu 24.04 กัน โดยทำการทดสอบมาตรฐานเช่นเดียวกันกับบอร์ดอื่น ๆ คือ การตรวจสอบข้อมูลระบบเบื้องต้น การทดสอบ Benchmark CPU Disk Peripherals Network การทดสอบการใช้งานเว็บและมัลติมีเดียร์ การตรวจสอบการใช้พลังงาน และเนื่องจาก LattePanda Mu เป็นสถาปัตยกรรม X64 ทำให้เราสามารถสร้าง boot disk เพื่อทำการติดตั้ง Ubuntu 24.04 ได้เหมือนการติดตั้งทั่วไปเลย โดยหลังจากติดตั้งเสร็จแล้ว เราจะมาตรวจสอบข้อมูลระบบเบื้องต้นกันในหัวข้อด้านล่าง ข้อมูลระบบเบื้องต้น [crayon-66 […]

Radxa X4 : บอร์ด SBC ขนาดเท่าบัตรเครดิต ที่ใช้ Intel N100 ราคาเริ่มต้นที่ 2,200 บาท

Radxa X4 เป็นคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยว (SBC) มีขนาดเท่าบัตรเครดิต ที่ใช้ Intel Processor N100 ที่มีราคาใกล้เคียงกับ Raspberry Pi 5 โดยรุ่น RAM 4GB มีราคาประมาณ $60(~2,200฿)  และรุ่น RAM 8GB มีราคาประมาณ $80(~3,000฿) บอร์ด SBC x86 มีคุณสมบัติหลายอย่างเหมือน Raspberry Pi 5 เช่นเอาต์พุต micro HDMI สองพอร์ต, พอร์ต USB 3.2/2.0 สี่พอร์ต, การเชื่อมต่อเครือข่ายEthernet และ WiFi, และGPIO header 40-pin ที่จัดการผ่านไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 การเชื่อมต่อเครือข่ายดีกว่าด้วย 2.5GbE และ WiFi 6, รองรับ M.2 SSD ซึ่งมีความเร็วเร็วกว่าการใช้ PCIe HAT ของ Pi 5 ถึงสี่ถึงแปดเท่า และพอร์ต USB 3.2 มีความเร็วสูงสุดถึง 10 Gbps แต่ข้อเสียหลักคือไม่มีพอร์ต MIPI CSI และ DSI ซึ่งอาจจำเป็นสำหรับโปรเจกต์ที่ต้องการเชื่อมต่อกล้องและจอ […]

เปิดตัว Linux 6.10 พร้อมเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของสถาปัตยกรรม Arm, RISC-V และ MIPS

Linux Torvalds ได้ประกาศเปิดตัว Linux 6.10 บน LKML (Linux kernel mailing list), เมื่อประมาณ 2 เดือนทีผ่านมาได้เปิดตัว Linux 6.9 โดยเพิ่มการรองรับ Intel Flexible Return and Event Delivery (FRED), การรองรับการรัน AMD Secure Nested Paging (SNP) guests, การแก้ไขปัญหา “Register File Data Sampling” (RFDS) ซึ่งเป็นช่องโหว่ทางฮาร์ดแวร์ที่มีผลกระทบกับ Intel Atom CPUs, ฟีเจอร์ named address spaces ของ GCC เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเข้าถึงข้อมูล per-CPU, และการรองรับเบื้องต้นสำหรับ FUSE passthrough รวมถึงการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญใน Linux 6.10 การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญบางส่วนใน Linux 6.10: การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของเครือข่าย – เพิ่มประสิทธิภาพการส่งแบบ zero-copy โดยใช้ io_uring และการรวมหล […]

รีวิว มินิพีซี GEEKOM GT13 Pro ที่ใช้ Intel Core i9-13900H พร้อมทดสอบประสิทธิภาพบน Windows 11 Pro และ Ubuntu 24.04

GEEKOM GT13 Pro เป็นมินิพีซี ที่ใช้โปรเซสเซอร์ 13th Gen Intel Core i9-13900H หรือ Core i7-13620H พร้อม Intel Iris Xe Graphics, พร้อม RAM สูงสุด 64GB, NVMe SSD 2TB, เอาต์พุตวิดีโอผ่าน HDMI และ USB-C ที่รองรับความละเอียด 8K, พอร์ต Thunderbolt 4 จำนวน 2 ช่อง, พอร์ต 2.5GbE,  รองรับ Bluetooth 5.2 และ Wi-Fi 6E, และมาพร้อมกับ Windows 11 Pro บริษัท GEEKOM ได้ส่งตัวอย่างของมินิพีซี GEEKOM GT13 Pro ที่มาพร้อมโปรเซสเซอร์ Core i9-13900H, RAM 32GB และ SSD NVMe 2TB มาให้เรา เราจะเริ่มการตรวจสอบด้วยการแกะกล่อง การแกะเครื่องเพื่อตรวจสอบการออกแบบฮาร์ดแวร์ แล้วทำการทดสอบประสิทธิภาพบน Windows 11 Pro และ Ubuntu 24.04  พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับมินิพีซี GEEKOM Mini IT13 ที่ใช้โปรเซสเซอร์เดียวกันและมีคุณสมบัติหลายอย่างที่เหมือนกัน ก่อน […]

โฆษณา

เปิดตัว Linux 6.9 – มีการปลี่ยนแปลงหลักของสถาปัตยกรรม Arm, RISC-V และ MIPS

Linus Torvalds ได้ประกาศเปิดตัว Linux 6.9 บน LKML (Linux kernel mailing list), เมื่อประมาณ 2 เดือนทีผ่านมาได้เปิดตัว Linux 6.8 โดยมีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือ รองรับไดร์ฟเวอร์กราฟฟิค Intel Xer ที่เป็นรุ่นทดลองใหม่ซึ่งมีเป้าหมายที่จะแทนที่ไดรเวอร์ i915 รุ่นเก่าสำหรับ GPU Intel, zswap subsystem เพิ่มความสามารถที่บังคับให้ข้อมูลที่ไม่ค่อยได้ใช้งานที่อยู่ในแรม ไปเก็บไว้ใน Swap เมื่อมีการใช้งานจนแรมเต็มแล้ว, เพิ่มการรองรับภาษา Rust สำหรับการสร้างไดรเวอร์ PHY ในเครือข่าย, โครงสร้างข้อมูลในส่วนหลักของเครือข่ายได้รับการจัดระเบียบใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแคช และการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ อีกมากมาย Linux 6.8 ยังเป็นเคอร์เนลเริ่มต้นในระบบปฏิบัติการ Ubuntu 24.04 การเปลี่ยนแปลงสำคัญใน Linux 6.9 บางบางส่วนของการเปลี่ยนแปลงที่สำค […]

Openterface Mini-KVM เป็นอุปกรณ์ KVM-over-USB ขนาดเล็กและราคาไม่แพง (Crowdfunding)

Openterface Mini-KVM เป็นอุปกรณ์ KVM-over-USB ขนาดกะทัดรัดที่เป็นฮาร์ดแวร์โอเพ่นซอร์ส พร้อมอินพุต HDMI และเสียง ที่เชื่อมต่อผ่านพอร์ต USB-C เข้ากับคอมพิวเตอร์โฮสต์ เราได้เห็นหลายโซลูชัน KVM-over-IP ราคาถูกที่ใช้ที่ใช้คอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยวมาบ้างแล้ว แต่ Openterface Mini-KVM นั้นแตกต่างอย่างสิ้นเชิง (และถูกกว่า) เนื่องจากเป็นอุปกรณ์แบบ Plug-and-Play แลไม่ต้องใช้ระบบเครือข่าย เป็นอุปกรณ์ KVM-over-USB ที่เชื่อมต่อโดยตรงระหว่างคอมพิวเตอร์โฮสต์และอุปกรณ์เป้าหมายผ่าน HDMI และ USB รองรับคุณลักษณะหลายอย่างเช่นโซลูชัน KVM-over-IP ยกเว้นคุณลักษณะบางอย่าง เช่น การรองรับ ATX ที่พบใน PiKVM v4 Plus หรือ Pi-Cast KVM ด้วยบอร์ดขยายที่ช่วยให้อุปกรณ์เป้าหมายสามารถปิดและเปิดจากอุปกรณ์โฮสต์ได้ สเปคของ Mini-KVM (รุ่น LIG03D01): วิธี […]

โฆษณา