Unexpected Maker เปิดตัว TinyS3, FeatherS3 และ ProS3 ที่ใช้ ESP32-S3 dual-core

Unexpected Maker TinyS3 FeatherS3 ProS3

Seon Rozenblum หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ Unexpected Maker ได้เปิดตัวการอัปเกรด ESP32-S2 (เช่น บอร์ด TinyS2) เป็น ESP32-S3 ได้แก่ บอร์ด TinyS3, FeatherS3 และ ProS3 บอร์ดใหม่นี้ใช้ฟอร์มแฟคเตอร์เดียวกันกับ TinyS2, FeatherS2 และ ProS2 แต่มีไมโครคอนโทรลเลอร์แบบดูอัลคอร์ที่ทรงพลังกว่าพร้อมคำสั่ง AI และ SRAM ขนาด 512kB ยังเพิ่มการเชื่อมต่อ Bluetooth 5.0 Low Energy (BLE) และรองรับ Bluetooth Mesh ไม่ใช่แค่การเชื่อมต่อ WiFi 4 บนบอร์ดรุ่นก่อนหน้า บอร์ด TinyS3, FeatherS3 และ ProS3 มีสเปคดังนี้: SoC – ESP32-S3 ของ Espressif Systems พร้อม ไมโครคอนโทรลเลอร์ Xtensa LX7 Dual-core 32 บิต ความเร็วสูงสุดอยู่ที่  240MHz ตัวประมวลผลร่วมที่รัน RISC-V ULP 512KB SRAM 2.4GHz Wifi 4 (802.11b/g/n) บลูทูธ 5.0 BLE + Mesh หน่วยความจำ – QSPI P […]

ESP32 DevKitC V4 บอร์ดพัฒนาติดตั้งที่โมดูล ESP32-WROOM-DA มีเสาอากาศคู่

ESP WROOM DA development board

ขณะนี้ ESP32 DevKitC V4 จำหน่ายพร้อมติดตั้งโมดูล ESP32-WROOM-DA พร้อมเสาอากาศ  PCB 2 ที่อันที่เปิดตัวปีที่แล้ว เพื่อช่วยเพิ่มเสถียรภาพของการเชื่อมต่อและช่วง WiFi ที่ไกลขึ้น บอร์ดพัฒนานี้เหมือนกับรุ่น ESP32 DevKitC V4 อื่นๆ ทุกประการ และความแตกต่างเพียงอย่างเดียวคือการออกแบบเสาอากาศคู่ เมื่อใช้งาน Arduino Core เวอร์ชันล่าสุดสำหรับ ESP32 (2.0.3 ขึ้นไป) ESP32 จะสลับไปยังเสาอากาศที่มีสัญญาณแรงที่สุดโดยอัตโนมัติ เพื่อให้ได้การเชื่อมต่อที่ดีที่สุด สเปคของ ESP32 DevKitC V4: Wireless module – ESP32-WROOM-DA (ข้อมูล PDF) พร้อม SoC –  Espressif Systems ESP32-D0WD-V3 dual-core LX6 microprocessor  พร้อม SRAM 520 KB, การเชื่อมต่อ 2.4 GHz WiFi 4 และ Bluetooth 4.1 Storage – หน่วยความจำ SPI Flash ขนาด 8 MB เสาอากาศ PCB 2 […]

SenseCraft เฟิร์มแวร์ตัวใหม่แสดงผลเซ็นเซอร์โดยไม่ต้องเขียนโค้ด

voc

อ้างอิงจากรีวิว SenseCAP K1100 Sensor Prototype ด้วย LoRaWAN และ Vision AI ผู้เขียนได้เสนอแนะไว้ในบทสรุปความคิดเห็นส่วนตัว ประโยคหนึ่งกล่าวว่า “หากทางบริษัท SeeedStudio พัฒนา Firmware ตัวใหม่ออกมาที่สามารถเชื่อมต่อโดยไม่ต้อง Coding ก็จะดีมากๆ” มาบัดนี้สิ่งที่คาดหวังไว้ก็กลายเป็นจริงซะที เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2565 ทางบริษัท SeeedStudio ได้พัฒนาเฟิร์มแวร์ภายใต้โครงการชื่อว่า SenseCraft – The Project of No-Code Smart Sensor Builder เป็นการใช้งานบอร์ด Wio Terminal ร่วมกับ Grove Module ต่างๆ โดยไม่ต้องเขียนโค้ดแต่อย่างใด เราจะมาลองทดสอบเฟิร์มแวร์ SenseCraft ตัวใหม่นี้ด้วยกันครับ ปุ่มควบคุมทิศทางของ SenseCraft ใช้ Joy Stick ควบคุม 4 ทิศทาง ดังนี้ 1. Left : เลื่อนไปทางซ้าย 2. Right : เลื่อนไปทางขวา […]

Bee S3 : บอร์ด ESP32-S3 ประหยัดพลังงาน สามารถใช้แบตเตอรี่ LiPo ได้นานหลายปี

Bee S3 ESP32 S3 ultra low power board

Bee S3 ของ Smart Bee Designs เป็นบอร์ดพัฒนาที่ประหยัดพลังงาน (ultra-low-power) ที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ Espressif ESP32-S3 พร้อม WiFi และ Bluetooth ในโหมด deep sleep จะกินกระแสไฟฟ้าน้อยกว่า 20 uA  ทำให้บอร์ดมีอายุการใช้งานนานกว่า 5 ปี บอร์ดมีการเชื่อมต่อ WiFi 4 และ Bluetooth 5 LE, มีวงจรตรวจสอบแรงดันแบตเตอรี่เพื่อตรวจสอบระดับการชาร์จแบตเตอรี่ พอร์ต USB Type-C สำหรับการจ่ายไฟและการตั้งโปรแกรมม, มี 20 รูสำหรับส่วนขยาย เช่น เชื่อมต่อเซ็นเซอร์ และอื่นๆ ข้อมูลสเปคของ Bee S3: โมดูลไร้สาย – โมดูล Espressif Systems ESP32-S3-MINI-1 ( เอกสารข้อมูล PDF ) พร้อม โปรเซสเซอร์ ESP32-S3 dual-core Xtensa LX7 พร้อมการเชื่อมต่อ WiFi 4 และ Bluetooth 5.0, แฟลช QSPI ขนาด 4MB หรือ 8MB, เสาอากาศ PCB USB – 1x พอร์ต USB Type-C สำหรับจ่ายไ […]

Radxa CM5 – โมดูล Rockchip RK3588S ทางเลือก Raspberry Pi CM4

Radxa CM5

โมดูล Radxa ROCK 5 (หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ Radxa CM5) โมดูลทางเลือกของ Raspberry Pi CM4 โดยใช้ Rockchip RK3588S octa-core Cortex-A76/A55 SoC ที่ทรงพลังกว่า โดยเหมือนกับ Raspberry Pi Compute Module 4 ที่มีฟอร์มแฟคเตอร์ขนาด 55 x 40 มม. แต่แทนที่จะใช้ ตัวเชื่อมต่อระหว่างบอร์ดกับบอร์ด 2 ชุด (ชุดละ 100 พิน) แต่ Radxa CM5 นี้มี 3 ชุด (ชุดละ 100 พิน) เพื่อรองรับ I/O เพิ่มเติมจากโปรเซสเซอร์ Rockchip, ที่เหมือนกับ Radxa CM3 ที่ติดตั้งโปรเซสเซอร์ Rockchip RK3566 สเปคของ Radxa CM5: SoC – โปรเซสเซอร์ Rockchip RK3588S 8 คอร์ พร้อม Cortex‑A76 4 คอร์ @ สูงสุด 2.4GHz, Cortex‑A55 4 คอร์ ประมวลผลที่ 1.8 GHz หน่วยประมวลผลภาพ (GPU)  Arm Mali-G610 MP4 “Odin” การถอดรหัสวิดีโอ – 8Kp60 H.265, VP9, ​​AVS2, 8Kp30 H.264 AVC/MVC, 4Kp6 […]

Lolin S3 – บอร์ด ESP32-S3 พร้อมกับเฟิร์มแวร์ MicroPython

Lolin S3 ESP32 S3 board

Lolin S3 เป็นบอร์ด ESP32-S3 ตัวแรกจากบริษัทของ Lolin แต่แทนที่จะใช้ฟอร์มแฟกเตอร์ D1 mini ที่มีขนาดกะทัดรัดกว่า บอร์ดนี้กลับมีการออกแบบที่ยาวขึ้น โดยมีพิน 20 แต่ละแถวของบอร์ดเพื่อให้มี GPIO มากถึง 31 ตัว บอร์ด Lolin S3 ใช้โมดูล ESP32-S3-WROOM-1 พร้อมแฟลช QSPI 16MB, SPRAM 8MB, พอร์ต USB Type-C OTG และ UART สองพอร์ต, พอร์ต Lolin I2C, ไฟ LED RGB รวมถึงปุ่มรีเซ็ตและผู้ใช้ ข้อมูลจำเพาะของ Lolin S3: Wireless module – โมดูล ESP32-S3-WROOM-1 พร้อม: Espressif ESP32-S3 dual-core Tensilica LX7 @ สูงถึง240 MHz พร้อมคำสั่งเวกเตอร์สำหรับการเร่งความเร็ว AI, 512KB RAM, 2.4 GHz WiFi 4 และ Bluetooth 5.0 LE พร้อมรองรับระยะไกล, อัตราข้อมูลสูงสุด 2Mbps, เครือข่ายแบบ mesh แฟลช QSPI 16MB 8MB PSRAM เสาอากาศ PCB USB – 2x พอร์ต USB Type- […]

รีวิว SenseCAP K1100: AI Vision พบกับ LoRaWAN (Episode II)

Wio Terminal Grove Vision AI LoRaWAN module

ในภาคแรก เป็นเรื่องของการต่อเซ็นเซอร์ต่างๆ เข้ากับบอร์ด Wio Terminal และส่งข้อมูลแบบไร้สายออกไปที่ LoRa-E5 module ตามมาตราฐานของ LoRaWAN ในคลื่นความถี่สำหรับประเทศไทย หากคุณยังไม่ได้ดู ตามไปที่ลิงค์นี้ รีวิว SenseCAP K1100 : Sensor Prototype ด้วย LoRaWAN และ AI (Episode I)  สำหรับภาคสอง จะเป็นการนำ SenseCAP K1100 มาประยุกต์ใช้งาน Grove Vision AI module ร่วมกับบอร์ด Wio Terminal ทำการ Train Model จับภาพใบหน้า แสดงผลจากกล้องวิดีโอไปที่คอมพิวเตอร์ และประเมินผลลัพธ์ว่า Face detection Model มีความแม่นยำเพียงใด โดยประมวลผลในลักษณะ Edge Computing Sensor และแจ้งผลส่งข้อมูลแบบไร้สายระยะไกลผ่าน LoRa-E5 module ไปที่ระบบ Private LoRaWAN IoT Platform ต่อไป การทำความเข้าใจว่าปัญญาประดิษฐ์คืออะไร และจะใช้มันเพื่อเป็นประโยชน์ต […]

รีวิว SenseCAP K1100 : Sensor Prototype ด้วย LoRaWAN และ AI (Episode I)

SenseCAP K1100 review LoRaWAN sensors

ในยุคดิจิทัลที่ IoT และ Big data เป็นที่แพร่หลายมากขึ้น จำเป็นต้องมีการรวบรวมข้อมูลจำนวนมากผ่านเซ็นเซอร์ เพื่อทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล ผลิตภัณฑ์ SenseCAP K1100 ของ SeeedStudio มาพร้อมกับเซ็นเซอร์และอุปกรณ์ที่จำเป็นทั้งหมด รวมถึง Wio Terminal, AI Vision Sensor และโมดูล LoRaWAN ด้วยชุดเครื่องมือ Plug-and-Play นี้ เราสามารถเพิ่ม AI ลงในอุปกรณ์ Edge ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถสร้างเซ็นเซอร์ DIY สำหรับการรวบรวมข้อมูล และแก้ปัญหาความท้าทายในโลกแห่งความเป็นจริงได้ IoT : Internet of Things “อินเตอร์เน็ตในทุกสิ่ง” หมายถึง การที่อุปกรณ์ต่างๆ ได้ถูกเชื่อมโยงทุกสิ่งทุกอย่างสู่โลกอินเตอร์เน็ต ทำให้เราสามารถสั่งการควบคุมการใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่น การเปิด-ปิด อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้ […]