หากคุณชอบบอร์ด Wemos D1 mini ESP8266 ที่มีบอร์ดเสริมแบบวางซ้อนกัน คุณอาจจะชอบบอร์ด Wemos/Lolin S2 Mini ที่มีลักษณะเดียวกัน แต่ติดตั้งโปรเซสเซอร์ WIFi แบบ single-core ของ ESP32-S2 และมีจำนวนอินพุต/เอาท์พุต มากกว่าสองเท่า บอร์ดมาพร้อมกับแฟลช 4MB, PSRAM 2MB, พอร์ต USB-C สำหรับจ่ายไฟและตั้งโปรแกรม รวมถึงหัวต่อ 16 พินสองตัวสำหรับ GPIO, ADC, DAC และอื่นๆ สเปคของ Lolin S2 Mini V1.0.0 : SoC – ระบบ Espressif ESP32-S2FN4R2 Xtensa ไมโครโปรเซสเซอร์ LX7 แบบ single-core 32 บิตสูงสุด 240 MHz พร้อม SRAM 320 KB, แฟลช 4MB, PSRAM 2MB ส่วนหัวขยาย – ส่วนหัว 2x 16 พินพร้อม 27x IO, ADC, DAC, I2C, SPI, UART, USB OTG USB – 1x USB Type-C สำหรับการจ่ายไฟ 5V และการตั้งโปรแกรม เบ็ดเตล็ด – ปุ่มรีเซ็ตและปุ่ม 0 ยังใช้เพื่อเข […]
บอร์ดขนาดจิ๋ว XIAO RP2040 ใช้ Raspberry Pi RP2040 MCU
Seeeduino XIAO เป็นบอร์ดขนาดเล็กพิเศษที่เข้ากันได้กับ Arduino Zero ที่รองรับแบตเตอรี่ ซึ่งเปิดตัวเมื่อปีที่แล้วด้วย ไมโครคอนโทรลเลอร์ Microchip SAMD21G18 ARM Cortex-M0+ ที่ความเร็วสูงสุด 48MHz Seeed Studio ได้เปิดตัวบอร์ด XIAO RP2040 ด้วยฟอร์มแฟกเตอร์เดียวกัน แต่อัปเกรดให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย ไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 แบบ dual-core Cortex-M0+ ที่สูงสุดถึง 133 MHz สเปคของ XIAO RP2040: MCU – Raspberry Pi RP2040 dual-core Cortex M0+ สูงถึง 133 MHz หรือแม้กระทั่ง 252 MHz (ค่าเริ่มต้น 48MHz) พร้อม SRAM 264 kB ที่เก็บข้อมูล – แฟลช SPI ขนาด 2MB USB – 1x พอร์ต USB Type C สำหรับจ่ายไฟและตั้งโปรแกรม ส่วนขยาย I/Os ส่วนหัว 2×7 พิน พร้อม 11x 4x อินพุตแบบอะนาล็อก , 11x I/Os แบบดิจิตอล / PWM,1x DA […]
CorgiDude ใช้ RISC-V เป็นบอร์ดสำหรับปัญญาประดิษฐ์ (AI) Machine Learning ผลิตในประเทศไทย
บริษัทเมกเกอร์ เอเชีย จำกัดเป็นบริษัทเล็กๆ ในประเทศไทย ที่ได้ผลิตหรือแม้กระทั่งตรวจสอบบอร์ดที่ผลิตในประเทศไทยบางส่วน รวมถึงบอร์ดESP8266และESP32 , 3G Raspberry Pi HATและแพลตฟอร์มการศึกษา KidBrightเป็นต้น บริษัทได้พัฒนา CorgiDude (คอร์กี้ดู๊ด) ซึ่งเป็นบอร์ดที่ใช้โมดูล Sipeed M1 RISC-V AI เวอร์ชันSipeed M1พร้อม WiFi ในตัวและเป็นชุดอุปกรณ์ที่มีกล้องและจอแสดงผลที่ใช้ในการสอน Machine Learning และปัญญาประดิษฐ์(AI) สามารถเขียนโปรแกรมหลักด้วยภาษา MicroPythonหรือ ภาษาC/C++ สเปคบอร์ด CorgiDude: โมดูลไร้สาย AI – โมดูล M1W แบบ Sipeed พร้อมด้วย Kendryte K210 dual-core 64-bit RISC-V RV64IMAFDC CPU ที่ 400Mhz พร้อม FPU, ตัวเร่ง AI ต่างๆ (KPU, ตัวเร่ง FFT …), SRAM บนชิป 8MiB Espressif ESP8285 single-core 2.4 GHz WiFi 4 […]
Eduponics Mini ระบบการเกษตรอัจฉริยะ ที่ขับเคลื่อนด้วย ESP32 (คราวด์ฟันดิ้ง)
ส่วนหนึ่งของภาคเศรษฐกิจที่ควรได้รับประโยชน์สูงสุดจาก Internet of Things คือภาคเกษตรกรรม เนื่องจากจำเป็นต้องมีเซ็นเซอร์ด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มผลผลิตและยังลดต้นทุนด้วยการใช้ไฟฟ้าและน้ำด้วย STEMinds Eduponics Mini ที่ถูกออกแบบมาเพื่อเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) หัวใจสำคัญของชุดนี้คือบอร์ด ESP32 ที่ติดตั้งชุดเซ็นเซอร์ตรวจวัดแสง, อุณหภูมิ,ความชื้นและบรรยากาศ รวมถึงอินเทอร์เฟซสำหรับเชื่อมต่อปั๊มภายนอก, เซ็นเซอร์ความชื้นในดิน, เซ็นเซอร์คุณภาพน้ำและเซ็นเซอร์สภาพแวดล้อม สเปค บอร์ด Eduponics Mini โมดูลไร้สาย – โมดูล ESP32-WROVER-B พร้อม ESP32 Wi-Fi และ Bluetooth SoC SPRAM 8MB ขั้วต่อเสาอากาศภายนอก เซ็นเซอร์ในตัว BH1750 I2C เซ็นเซอร์แสง BME280 I2C อุณหภูมิความชื้นและเซ็นเซอร์วัดความกดอากาศ การขยาย ขั้วต่อ 2 […]
วิธีใช้บอร์ด Raspberry Pi Pico ด้วย MicroPython และภาษาC
บอร์ด Raspberry Pi Pico ที่เพิ่งเปิดไปไม่นาน และต้องขอบคุณบริษัท Cytron ที่ส่งตัวอย่างมาให้ ฉันจึงมีเวลาเล่นกับบอร์ดโดยใช้โปรแกรมภาษา MicroPython และ C ฉันเริ่มต้นจากการไปที่เอกสาร และสิ่งที่ฉันต้องการคือหลอด LED บางหลอดกะพริบ และฉันก็จะเริ่มบันทึกด้วยคู่มือการเริ่มต้นใช้งาน Raspberry Pi Pico โดยใช้คอมพิวเตอร์ที่ทำงานอยู่ในระบบปฏิบัติการ Ubuntu 20.04 ซึ่งจะคล้ายกันสำหรับ Windows และ Mac OS การเตรียมฮาร์ดแวร์ ในทางทฤษฎีแล้ว เราสามารถเริ่มต้นด้วยบอร์ดเพียงอย่างเดียว แต่ฉันจะลองใช้หัวแร้งบัดกรี (Pinecil soldering ironl ) ด้วยตัวจ่ายไฟ MINIX NEO P2 USB-C หัวแร้งบัดกรีใช้งานได้ดีประมาณหนึ่งนาที แล้วฉันก็เริ่มมีปัญหากับการบัดกรี … มองไปที่หน้าจอเป็น Zzzz และอุณหภูมิลดลง ซึ่งอาจเป็นเพราะไม่ได้ขยับการบัดกรี จึ […]