รีวิวแล็ปท็อป CrowPi L ที่ใช้ Raspberry Pi 4 – Part 1: แกะกล่องและถอดส่วนประกอบ

รีวิว-CrowPi-L-Raspberry-Pi-Education-Laptop

บริษัท Elecrow ได้เปิดตัว CrowPi L เป็นคอมพิวเตอร์แบบแล็ปท็อปที่มีจอภาพขนาด 11.6 นิ้ว, เป็นชุดคิทที่ใช้บอร์ด Raspberry Pi 4, และออกแบบมาสำหรับการศึกษา STEM พร้อมโมดูลอิเล็กทรอนิกส์และแบบฝึกหัดเสริม เป็นรุ่นอัพเกรดของแล็ปท็อป CrowPi 2 ที่ฉันเคยตรวจสอบในปี 2563 ด้วยการออกแบบที่บางลงและมีความยืดหยุ่นมากขึ้น เนื่องจากโมดูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นอุปกรณ์เสริม ดังนั้นจึงเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการแล็ปท็อป Raspberry Pi 4 ในตลาด บริษัทได้ส่ง “CrowPi L Advanced Kit” มาให้ฉันตรวจสอบ ซึ่งรวมถึง Raspberry Pi 4 และ Crowtail Starter Kit สำหรับ Raspberry Pi แกะกล่อง CrowPi L Advanced Kit เรามาดูแพ็คเกจของแล็ปท็อปกันก่อน แล็ปท็อปมาพร้อมกับแบตเตอรี่ และแล็ปท็อปตัวอย่างที่พวกเขาส่งมาให้ฉันตรวจสอบมี Raspberry Pi 4 ที่ติดตั้งไว […]

เปิดตัว Banana Pi BPI-Leaf-S3 ที่ใช้ ESP32-S3 ราคา 270฿

Banana Pi BPI-Leaf-S3 ESP32-S3 เปิดตัวในราคา $7.5

Banana Pi เป็นที่รู้จักกันมานานสำหรับบอร์ด Arm Linux แต่บอร์ด Banana Pi BPI-Leaf-S3 ใช้ Espressif ESP32-S3 แบบ dual-core รองรับการเชื่อมต่อ WiFi และ BLE และรองรับการประมวลผลทางด้าน AI, ที่เข้ากันได้กับ ESP32-S3-DevKitC-1 และไม่มีชิป USB to TTL, เพิ่มการรองรับแบตเตอรี่และขั้วต่อ I2C ข้อมูลจำเพาะ Banana Pi Leaf (BPI-Leaf-S3): Wireless MCU  – Espressif  ESP32-S3 ใช้ตัวประมวลผล Tensilica LX7 (dual-core) @ สูงสุด 240 MHz พร้อมชุดคำสั่ง vector instructions (AI Acceleration Support) เพื่อช่วยเพิ่มความสามารถในการประมวลผลทางด้าน AI, RAM 512 KB , การเชื่อมต่อ wireless ที่เก็บข้อมูล/หน่วยความจำ – แฟลช 8MB, SPRAM 2MB การเชื่อมต่อผ่าน ESP32-S3 2.4 GHz 802.11 b/g/n Wi-Fi 4 พร้อมรองรับแบนด์วิดท์ 40 MHz Bluetooth Low Energy (B […]

มาลองใช้งาน WiFi บนบอร์ด Raspberry Pi Pico W

เริ่มใช้งาน-Raspberry-Pi-Pico-W

เมื่อไม่นานนี้ Raspberry Pi Trading เปิดตัวบอร์ด Raspberry Pi Pico W โดยออกแบบเหมือนกับ บอร์ด Raspberry Pi Pico รุ่นเดิม ทั้งคู่มาพร้อมกับไมโครคอนโทรลเลอร์  RP2040 dual-core Cortex-M0+ แต่เพิ่ม Pico W เพิ่มโมดูล Wireless รองรับการเชื่อมต่อ WiFi 4 และ Bluetooth LE 5.2 (แต่ไม่ได้เปิดใช้งาน Bluetooth ในขณะนี้ และคาดว่าจะเปิดใช้งานในอนาคตต่อไป) บริษัทได้ส่ง Raspberry Pi Pico W เพื่อทดสอบ/ประเมินผล ในบทความนี้ และฉันจะเน้นการทดสอบที่เกี่ยวข้องกับ WiFi เนื่องจาก Raspberry Pi Pico W รองรับ MicroPython และ C/C++ SDK เหมือนกับบอร์ด Raspberry Pi Pico และ API อื่นๆ สำหรับการเชื่อมต่อแบบ Wireless แกะกล่อง Raspberry Pi Pico W บอร์ด Raspberry Pi Pico W ที่ฉันได้รับถูกตัดจากม้วน/เทป 480 ชิ้น และฉันยังได้รับสายไมโคร USB เป็น U […]

Raspberry Pi Pico W – บอร์ด Raspberry Pi Pico พร้อม WiFi 4 ราคา $6 (~210฿)

Raspberry-Pi-Pico-W

ฉันคาดหวังกับบอร์ด Raspberry Pi อย่างเป็นทางการตัวต่อไปและนี่เป็นตัวอัปเดตของ Raspberry Pico พร้อม WiFi และ Bluetooth หรือด้วย machine learning accelerator และนั่นคือ Raspberry Pi Pico W โดยเพิ่ม 2.4GHz WiFi 4 ราคา $6 (~210฿) ฉันคาดว่า บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ไร้สายของ Raspberry Pi ตัวใหม่ น่าจะเป็นคู่แข่งของ ESP8266 หรือ ESP32 , และ Raspberry Pi Pico W มีชิปไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 dual-core Cortex-M0+ ที่พบในบอร์ด Raspberry Pi Pico ร่วมกับชิป Infineon CYW43439 ที่รองรับการใช้งาน 2.4 GHz WiFi 4 และ Bluetooth LE 5.2 (แต่ไม่ได้เปิดใช้งาน Bluetooth ในขณะนี้ และคาดว่าจะเปิดใช้งานในขั้นตอนต่อไป) ข้อมูลสเปค Raspberry Pi Pico W: MCU – ไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 แบบ dual-core Cortex-M0+  ทำงานที่ […]

Iono RP D16 : โมดูล IO สำหรับอุตสาหกรรม พร้อม Raspberry Pi RP2040 MCU

Iono-RP-D16-industrial-IO-module-Raspberry-Pi-RP2040

Sfera Labs ได้เปิดตัวแพลตฟอร์มฮาร์ดแวร์ที่ใช้ Raspberry Pi RP2040 ที่เรียกว่า Iono RP D16 industrial IO module โมดูลของอินพุต (Input) และเอาต์พุต (Output) ที่มีอยู่ในตัวเดียวกัน เหมาะสำหรับงานภาคอุตสาหกรรม ตามหลังโมดูลเซ็นเซอร์หลายตัว Exo Sense RP ที่เรากล่าวถึงก่อนหน้านี้ โมดูล Iono RP D16 สามารถให้ 16 ช่องสัญญาณ I/O ดิจิตอล(24V) , อินเทอร์เฟซแบบอนุกรม RS-485, กำลังไฟเข้า 12-28V  และสามารถติดตั้งเคส DIN-rail ในตู้ไฟฟ้าและระบบควบคุมอัตโนมัติได้ ข้อมูลจำเพาะ Iono RP D16: MCU – Raspberry Pi RP2040 dual-core Arm Cortex-M0+ ไมโครคอนโทรลเลอร์ @ 133MHz พร้อม SRAM  264kB บนชิป ที่เก็บข้อมูล – 16MB SPI flash อินพุต/เอาต์พุตผ่านเทอร์มินัลบล็อก เอาต์พุตสูงสุด 16x 24V 640mA ที่ขับเคลื่อนด้วยสวิตช์ด้านสูงและสามารถกำหนดค่าเ […]

“ESP32-C3-0.42LCD”: บอร์ด IoT ขนาดจิ๋ว พร้อมหน้าจอ 0.42 นิ้ว

ESP32-C3-0.42LCD-1

01Space “ESP32-C3-0.42LCD” เป็นบอร์ดขนาดจิ๋ว (23.5 x 18 มม.) ที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32-C3 โปรเซสเซอร์ RISC-V รองรับการเชื่อมต่อ WiFi และ Bluetooth, หน้าจอแสดงผล 0.42 นิ้ว และตัวเชื่อมต่อ Qwicc I2C เพื่อเพิ่มโมดูล เช่น เซ็นเซอร์ ครั้งแรกที่ฉันเห็นฟอร์มแฟกเตอร์ทำให้ฉันนึกถึง  บอร์ด XIAO BLE Sense ที่ใช้ nRF52840 ที่ฉันเพิ่งใช้ทดสอบเฟรมเวิร์กการเรียนรู้ของเครื่อง Edge Impulse บอร์ดทั้งสองน่าจะมีการใช้งานที่คล้ายกัน แต่ XIAO BLE Sense มีเซ็นเซอร์ 6-axis IMU และฉันต้องเชื่อมต่อจอแสดงผล OLED ในขณะที่บอร์ด ESP32-C3 มีหน้าจอแสดงผลไว้แล้ว และจะต้องเชื่อมต่อ Qwicc ภายนอก โมดูลที่มีมาตรวัดความเร่ง ข้อกำหนด ESP32-C3-0.42LCD: SoC – ESP32-C3FH4 SoC พร้อม RISC-V core @ 160 MHz, หน่วยความจำแฟลช 4MB, Wi-Fi 2.4GHz และ Blueto […]

LilyGO T-PicoC3 : บอร์ดที่รวม RP2040 และ ESP32-C3, พร้อมหน้าจอสี

LilyGO-T-PicoC3

LilyGO T-PicoC3 เป็นบอร์ดพัฒนาขนาดเล็กที่รวม ไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 dual-core เข้ากับ ESP32-C3 RISC-V MCU เพื่อรองรับการเชื่อมต่อ WiFi และ Bluetooth LE และเพิ่มหน้าจอสี ขนาด 1.14 นิ้ว พร้อมกับ I/O หลายตัว ก่อนหน้านี้มีการออกแบบบบอร์ดที่รวม ESP32 เข้ากับ RP2040 เช่น UDOO KEY, Arduino Nano RP2040 Connect หรือ Pico Wireless Pack เป็นต้น แต่เท่าที่ฉันรู้ บอร์ด T-PicoC3 เป็นรายแรกที่รวม Raspberry Pi RP2040 และ ESP32-C3 โปรเซสเซอร์ RISC-V ข้อมูลสเปค LilyGO T-Pico3: ไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 แบบ dual-core Cortex-M0+ MCU พร้อม SRAM แบบฝัง 264 KB Espressif Systems ESP32-C3โปรเซสเซอร์ RISC-V พร้อมการเชื่อมต่อ WiFi 4 และ Bluetooth 5.0 LE ที่เก็บข้อมูล – หน่วยความจำแฟลช SPI ขนาด 4MB เชื่อมต่อกับ […]

วิธีใช้ Maker Nano RP2040 : เปิดไฟกระพริบ, ไฟ RGB LED และเสียงดนตรี

Maker-Nano-RP2040-USB-c

จากบทความที่แล้ว Cytron Maker Nano RP2040 เป็นบอร์ดในฟอร์มแฟคเตอร์ของ Arduino Nano, ขับเคลื่อนด้วยขุมพลังของชิพตัวแรงอย่าง RP2040 ที่ทรงพลังจาก Raspberry Pi, บอร์ด Maker Nano RP2040 มาพร้อมกับ LED มากมาย และ Piezo Buzzer สำหรับเอาต์พุตเสียง ตอนนี้ฉันได้รับ Maker Nano RP2040 จากคุณฌ็อง ลุค โอฟรังค์ ที่ได้รับจาก Cytron เพื่อตรวจสอบ เพื่อให้ทำการรีวิวในสิ่งที่เริ่มต้น แต่ฉันยังไม่เคยใช้บอร์ดมาก่อน ใดังนั้น นี่เป็นประสบการณ์ครั้งแรกของฉัน และในบทความนี้ ฉันจะพยายามตั้งโปรแกรม Maker Nano RP2040 ด้วย CircuitPython ด้วยการสาธิตสามแบบ: ไฟกระพริบ การเปลี่ยนสีของไฟ LED RGB และการเล่น เมโลดี้ผ่าน Piezo Buzzer มาดูกันว่าฉันจะทำได้ไหม เรามาเริ่มกันเลย….โดยเริ่มจากการฉันดาวน์โหลดเฟิร์มแวร์ CircuitPython จากเว็บไซต์ทางก […]