บอร์ด PowerFeather ESP32-S3 รองรับแหล่งจ่ายไฟฟ้าสูงสุด 18V DC เพื่อเชื่อมต่อแผงโซลาร์เซลล์

ESP32-S3 PowerFeather

บอร์ด PowerFeather ESP32-S3 เป็นบอร์ด IoT รูปแบบ Adafruit Feather ที่ใช้ ESP32-S3 รอรับ WiFi และ BLE ซึ่งสามารถจ่ายไฟด้วยแบตเตอรี่ Li-Ion หรือ LiPo และรองรับอินพุตแหล่งจ่ายไฟฟ้าแบบกระแสตรง DC สูงสุด 18V สำหรับการเชื่อมต่อโดยตรงกับแผงโซลาร์เซลล์ นักพัฒนาได้แจ้งกับ CNX Software ว่าปัจจัยหลักที่บอร์ดพัฒนา ESP32-S3 แตกต่างจากบอร์ดพัฒนา ESP32-S3 อื่นๆ คือ “คุณสมบัติการจัดการและการตรวจสอบพลังงานที่ครอบคลุม” พร้อมสามารถรับอินพุตในช่วง DC ที่กว้าง การตรวจสอบและควบคุมการจ่ายไฟและแบตเตอรี่ และคุณสมบัติการป้องกันแบตเตอรี่ สเปคของ PowerFeather ESP32-S3: ESP32-S3-WROOM-1-N8R2 MCU – ESP32-S3 dual-core Tensilica LX7 สูงสุด 240 MHz พร้อม SRAM 512KB, RTC SRAM 16 KB หน่วยความจำ – QSPI PSRAM 2MB ที่เก็บข้อมูล – QSPI flash 8MB Wir […]

ชิป ESP32-H4 SoC ที่ใช้ RISC-V dual-core เน้นประหยัดพลังงานรองรับ 802.15.4 และ Bluetooth 5.4 LE

ESP32-H4 block diagram

Espressif Systems ได้ประกาศ ESP32-H4 อย่างเป็นทางการ เป็นชิปไมโครคอนโทรลเลอร์ไร้สาย ที่ใช้ RISC-V dual-core 32-bit ใช้พลังงานต่ำ พร้อมรองรับ 802.15.4 และ Bluetooth 5.4 LE หลังจากเปิดตัวในงาน CES 2024 เป็นชิป Espressif ตัวแรกที่รองรับ Bluetooth 5.4 LE ซึ่งรุ่นก่อน เช่น ESP32-H2 หรือ ESP32-C6 จะรองรับ Bluetooth 5.0/5.2 เท่านั้น นอกจากการรองรับ BLE 5.4 แล้วชิป ESP32-H4 รุ่นใหม่ยังเป็นรุ่นวิวัฒนาการของ ESP32-H2 single-core พร้อมการรองรับ PSRAM (สูงสุด 4MB ในตัว), มี GPIO เพิ่ม (จาก 24 เป็น 36), Touch sensing GPIO และคุณลักษณะด้านความปลอดภัยพิเศษ เช่น power glitch detector ที่พบในใน ESP32-C61 ที่เพิ่งประกาศเมื่อเร็วๆ นี้ สเปคของ ESP32-H4: CPU –Dual-core 32-bit RISC-V core (สูงสุด 96 MHz) RAM – 320KB SRAM, PSRAM ตัวเ […]

โมดูล u-blox ALMA-B1 และ NORA-B2 ใช้ชิป SoC ของ Nordic nRF54H20 และ nRF54L15 รองรับ Bluetooth 5.4 LE

u blox ALMA B1 NORA B2 modules

u-blox ผู้ให้บริการโซลูชันการสื่อสารไร้สาย เปิดตัวโมดูลใหม่ 2 ตัวในกลุ่มผลิตภัณฑ์ Bluetooth LE ด้วยโมดูล ALMA-B1 และ NORA-B2 ที่ใช้ชิป nRF54 ไร้สายพลังงานต่ำจาก Nordic Semiconductor โมดูลทั้งสองอยู่เป็นแบบพกพาและประหยัดพลังงาน และรองรับ Bluetooth 5.4 และ 802.15.4 (Thread, Matter, Zigbee) โมดูล ALMA-B1 ใช้ชิป nRF54H20 SoC และ NORA-B2 BLE ใช้ชิป nRF54L15 SoC ที่สามารถนำไปใช้กับอุปกรณ์ IoT ที่มีพลังการประมวลผลสำหรับ edge computing และ machine learning โดยไม่จำเป็นต้องใช้ส่วนประกอบภายนอก u-blox กล่าวว่าโมดูล ALMA-B1 ให้ “พลังการประมวลผลมากกว่าโมดูล Bluetooth LE รุ่นก่อนเป็นสองเท่า” และสามารถแทนที่ไมโครคอนโทรลเลอร์ทั่วไปในโซลูชันขนาดเล็กได้ นอกจากนี้ NORA-B2 ยังสามารถ “ใช้พลังงานลดลงถึง 50% เมื่อเทียบกับ […]

Avaota A1 – บอร์ด SBC ที่เป็น Open-source hardware ใช้ชิป Allwinner T527 octa-core Cortex-A55 SoC

Avaota A1 open source hardware Allwinner T527 SBC

เมื่อไม่นานนี้เราเคยเขียนบทความเกี่ยวกับบอร์ดพัฒนาทางอุตสาหกรรม MYiR Tech MYD-LT527 ที่ใช้ชิป Allwinner T527 octa-core Cortex-A55 AI SoC และ Orange Pi กำลังพัฒนาบอร์ดเพื่อให้รองรับ mainline Linux โดย Avaoto A1 มีตัวเลือกที่มีฮาร์ดแวร์ Allwinner T527 อีกตัวหนึ่งพร้อมการออกแบบ บอร์ด SBC ที่เป็น Open-source hardware บอร์ดนี้มาพร้อม RAM สูงสุด 4GB, eMMC flash ขนาด 128GB, เอาต์พุตวิดีโอ HDMI และ DisplayPort, พอร์ต Gigabit Ethernet 2 พอร์ต, โมดูล WiFi 6 และ Bluetooth 5.4, พอร์ต USB,ช่อง audio jack 3.5 มม. และ GPIO header 40 ขาสำหรับขยาย สเปคของ Avaota A1: SoC – Allwinner T527 (หรือ Allwinner A527 พร้อมบอร์ด Avaota A1C ไม่แน่ใจว่าทั้งสองมีความแตกต่างกันอย่างไร) CPU โปรเซสเซอร์ Arm Cortex-A55 แบบ Octa-core ที่มี 4 คอร์ […]

Renesas R9A02G021 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวแรกที่ออกแบบ CPU core เองที่ใช้ RISC-V 32 บิต

Renesas R9A02G021 RISC V MCU

Renesas R9A02G021 เป็นกลุ่ม ไมโครคอนโทรลเลอร์ ตัวแรกของบริษัทที่ออกแบบ CPU core ของตนเอง ที่ใช้ RISC-V 32 บิตพร้อม 3.27 CoreMark/MHz, รองรับ RV32I base พร้อมส่วนขยาย M/A/C/B และฟีเจอร์อื่นๆ เช่นระบบ Stack Monitor Register, หน่วยการทำนายสาขาแบบไดนามิก และอินเทอร์เฟสดีบัก JTAG Renesas ผลิตชิป RISC-V ตั้งแต่ปี 2022 เช่นไมโครโปรเซสเซอร์ RZ/Five 64 บิต และ R9A06G150 32-bit voice control ASSP ซึ่งทั้งหมดนี้ใช้ RISC-V cores ของAndes แต่ตอนนี้เนื่องจากบริษัทได้ออกแบบ core 32 บิตของของตนเอง ไมโครคอนโทรลเลอร์ Renesas RISC-V 32 บิต และมีแนวโน้มที่จะใช้ในอนาคตด้วย โดยเริ่มต้นที่ R9A02G021 กลุ่ม MCU สำหรับการใช้งานทั่วไป คุณสมบัติและสเปคที่สำคัญของ Renesas R9A02G021: RISC-V Core สถาปัตยกรรมของชุดคำสั่ง Renesas RISC-V ( RV32 […]

Duo S บอร์ด SBC ที่ใช้ Sophgo SG2000 SoC (RISC-V/Arm) รองรับ Ethernet, WiFi 6, และ Bluetooth 5

Duo SBC Sophgo SG2000 Ethernet WiFi 6 Bluetooth

Duo S ของ Shenzhen MilkV Technology เป็นบอร์ด SBC ขนาดเล็กที่ใช้ Sophgo SG2000 Arm Cortex-A53 และ RISC-V SoC ที่ความเร็ว 1 GHz พร้อม DDR3 (SiP) 512MB , Fast Ethernet, การเชื่อมต่อ WiFi 6 และ Bluetooth 5 และโดยมีสวิตช์ในการเลือกสถาปัตยกรรม Arm หรือ RISC-V ก่อนที่จะเปิดเครื่อง เราเคยกล่าวถึงบอร์ด SG2002 (RISC-V/Arm) ที่มี RAM 256MB ได้แก่ LicheeRV Nano และ Duo 256M แต่สำหรับผู้ที่ต้องการหน่วยความจำมากขึ้น Duo S มีอีกทางเลือกหนึ่งที่มีคอนเกนเตอร์ MIPI CSI 2-lane สองตัว นั่นคือ พอร์ต USB 2.0 host และ pin-headers 26 ขา 2 แถวสำหรับการขยาย ฟอร์มแฟคเตอร์นี้ทำให้เรานึกถึง NanoPi NEO ของ FriendlyELEC และตระกูลที่ใช้โปรเซสเซอร์ Allwinner ที่เปิดตัวไปแล้ว สเปคของ Duo S: SoC – SOPHGO SG2000 Main core – RISC-V C906 64 บิต  ห […]

Efinix Titanium Ti375 FPGA พร้อม RISC-V block แบบ Quad-Core, PCIe Gen 4, 10GbE

Efinix Titanium Ti375 RISC V FPGA SoC

Efinix Titanium Ti375 SoC ได้รวมเทคโนโลยี high-density และ low-power Quantum compute fabric พร้อมกับ RISC-V block 32-บิต 4 คอร์ และมีคุณสมบัติ LPDDR4 DRAM controller, MIPI D-PHY สำหรับการแสดงผลหรือกล้อง, และ รับส่งสัญญาณ (transceivers) ที่มีความเร็ว 16 Gbps ซึ่งสามารถเปิดใช้งาน PCIe Gen 4 และอินเทอร์เฟส 10GbE ได้ Titanium Ti375 ยังประกอบด้วย logic elements 370K, DSP blocks 1.344, SRAM blocks 10-Kbit 2,688, และ embedded memory 27.53 Mbits รวมถึง DSP blocks ที่ถูก optimize สำหรับการประมวลผลและงาน AI และ XLR (eXchangeable Logic and Routing) cells สำหรับสำหรับลอจิกและการเชื่อมต่อสัญญาณ สเปคของ Efinix Titanium Ti375: FPGA compute fabric 370,137 logic elements (LEs) 362,880 eXchangeable Logic and Routing (XLR) cells […]

TinyVision – บอร์ด Linux ขนาดเล็กที่ใช้ Allwinner V851S/V851S3 สำหรับแอปพลิเคชันการมองเห็น

tinyvision board

บอร์ดพัฒนา TinyVision ไม่ใช่ TinyVision.ai แต่เป็นบอร์ด Computer Vision จาก YuzukiTsuru นักพัฒนาชาวจีน โดยใช้ Allwinner V851S หรือ V851S3 และได้โฆษณาว่าเป็น “โซลูชันครบวงจรที่รวมอยู่ในบอร์ดเดียวสำหรับเมนบอร์ด Linux, IPC, เซิร์ฟเวอร์, เราเตอร์ และอื่น ๆ” บอร์ดมาพร้อมฟีเจอร์ต่างๆ เช่น Cortex-A7 core ที่ทำงานที่ความเร็ว 1200MHz, อินพุต MIPI CSI 2 ช่อง และ Independent image signal processor (ISP) ที่แยกออกมา สามารถรองรับความละเอียดสูงสุด 2560 x 1440 ในรูปแบบขนาดเล็ก สเปคของ TinyVision: โปรเซสเซอร์ – Allwinner V851SE / V851s3 พร้อม Cortex-A7 core @ 1200MHz และ RISC-V E907GC core @ 600MHz NPU: 0.5 TOPS (tera operations ต่อวินาที) ที่ความแม่นยำ INT8 หน่วยความจำ – 64MB DDR2 (สำหรับ V851se), 128MB DDR3L (สำห […]