LILYGO ได้ออกแบบ บอร์ด ESP32 ที่มีหน้าจอในตัวจำนวนมาก แต่บอร์ด T-Display-S3-Long รุ่นใหม่ ที่ใช้ ESP32-S3 แตกต่างจากรุ่นอื่นคือเป็นบอร์ดมาพร้อมกับหน้าจอทัชสกรีน 3.4 นิ้วแบบ Wide Screen ที่มีความละเอียด 640 × 180 บอร์ดหน้าจอไร้สาย WiFi และ Bluetooth ที่ใช้ ESP32-S3R8 WiSoC พร้อม PSRAM 8MB และมาพร้อมกับ SPI flash ขนาด 16MB, คอนเนกเตอร์ Qwiic 2 ตัว และ pin-header 30 ขาสำหรับการขยาย, พอร์ต USB Type-C สำหรับจ่ายไฟ, ชาร์จ, และเขียนโปรแกรม และคอนเนกเตอร์ 2 ขาสำหรับแบตเตอรี่ LiPo ที่เป็นอุปกรณ์เสริม สเปค T-Display-S3-Long: Wireless MCU – Espressif Systems ESP32-S3R8 dual-core Tensilica LX7 @ สูงสุด 240 MHz พร้อมคำสั่ง vector instructions รองรับ AI acceleration , RAM 512KB, PSRAM 8MB , การเชื่อมต่อ wireless ที่เก็บข้อมู […]
WeAct ESP32H2-N4 – บอร์ดพัฒนาที่รองรับ Bluetooth 5.2 LE, Zigbee 3.0 และ Thread
WeAct ESP32H2-N4 เป็นบอร์ดพัฒนาที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32-H2 พร้อมรองรับการเชื่อมต่อ Bluetooth 5.2 LE, Zigbee 3.0 และ Thread โดยมีการออกแบบที่คล้ายกับ บอร์ดพัฒนา ESP32-H2-DevKitM-1 ของ Espressif Systems มาก แต่มีราคาถูกกว่า $5.70(~200฿) ไมโครคอนโทรลเลอร์ไร้สาย ESP32-H2 เป็นรุ่นถัดจาก ESP32-C6 ที่ไม่มี WiFi และมีเป้าหมายที่โหนดที่ใช้พลังงานต่ำและส่งข้อมูลในระยะสั้นๆ ในระบบเครือข่ายสำหรับ IoT ก่อนหน้านี้เราเคยเห็นในฮาร์ดแวร์ Espressif เช่น ESP32-H2-DevKitM-1 และบอร์ด ESP Thread Border Router ที่รวมชิปไร้สาย ESP32-H2 และ ESP32-S3 แต่ยังไม่พบในบอร์ดของบุคคลที่สาม สเปค WeAct ESP32H2-N4: Wireless module– ESP32-H2-MINI-1 MCU – ไมโครคอนโทรลเลอร์ Espressif Systems ESP32-H2 ที่ใช้ RISC-V 32 บิตที่ความเร็วสูงสุด 96 MHz […]
u-blox MAYA-W3 : โมดูลไร้สายทางอุตสาหกรรมรองรับ WiFi 6/6E และ Bluetooth 5.4 พร้อม LE Audio
เราได้กล่าวถึงชิปเซ็ตที่รองรับการเชื่อมต่อ WiFi 6 และ Bluetooth LE ที่สามารถนำไปใช้กับอุปกรณ์ IoT ด้วยชิปเซ็ต Synaptics SYN43711 และ Gigadevice GD32VW553 RISC-V WiSoC และ u-blox กำลังจะเปิดตัวโมดูล MAYA-W3 รองรับการเชื่อมต่อ WiFi 6/6E และ Bluetooth 5.4 พร้อมการรองรับ LE Audio และออกแบบมาสำหรับการใช้งานทางอุตสาหกรรม โมดูล MAYA-W3 ได้รับการออกแบบโดยใช้ชิปเซ็ต Infineon AIROC CYW5551x (ยังไม่ได้เปิดตัว) รองรับ WiFi 6E และ Bluetooth 5.4 พร้อมการรองรับคลื่นความถี่ 3 ตัวเลือกในแต่ละรุ่น ชิปเซ็ต CYW55511 รองรับ 2.4 GHz เท่านั้น, รุ่น CYW55512 รองรับ 2.4 GHz และ 5 GHz และชิปเซ็ต CYW55512 แบบ tri-band รองรับ 2.4 GHz, 5 GHz และ 6 GHz พร้อมพร้อมตัวเลือกสายอากาศ โดยมีคอนเนกเตอร์ U.FL 2 ตัว, คอนเกนเตอร์สายอากาศแบบพิน 2 ขา หร […]
ชิปเซ็ต Synaptics SYN43711 รองรับการเชื่อมต่อ WiFi 6E และ Bluetooth 5.3 สามารถนำไปใช้กับอุปกรณ์ IoT, วิดีโอสตรีมมิง, หุ่นยนต์
Synaptics SYN43711 เป็น SoC หรือ ชิปเซ็ต รองรับการเชื่อมต่อ WiFi 6E และ Bluetooth 5.3 ออกแบบมาใช้ในแอปพลิเคชัน IoT เช่น เครื่องใช้ในบ้านระดับ high-end ที่สามารถวิดีโอสตรีมมิง, กล้องวงจรปิด, หุ่นยนต์ และระบบ Smart Security สำหรับผู้บริโภค, อุตสาหกรรม, และธุรกิจ ชิปเซ็ตใหม่เป็นรุ่นที่มีประสิทธิภาพคุ้มค่ากว่า รุ่นชิปเซ็ต SYN4382 ที่มีการเชื่อมต่อ Wi-Fi 6E 2×2 MIMO 1,200 Mbps, Bluetooth 5.3 และ 802.15.4 ออกแบบมาสำหรับอุปกรณ์ฟอร์มแฟคเตอร์ขนาดเล็ก, ชิปเซ็ต SYN43711 tri-band รุ่นใหม่รองรับ Wi-Fi 6E 600 Mbps, Wi-Fi Sensing (การตรวจจับการมีคนอยู่), และ Bluetooth 5.3 พร้อม LE Audio สำหรับการเชื่อมต่อ Bluetooth พร้อมกันหลายตัวและการสตรีมเสียงรวมถึง Auracast audio sharing ได้ด้วย คุณสมบัติและสเปค SYN43711: Wireless Tri-b […]
Gigadevice GD32VW553 : ไมโครคอนโทรลเลอร์ RISC-V รองรับการเชื่อมต่อ WiFi 6 และ Bluetooth 5.2 LE
Gigadevice GD32VW553 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ RISC-V สามารถประมวลผลด้วยความเร็ว 160MHz นำไปใช้กับงานด้าน IoT ที่รองรับ WiFi 6 (802.11ax) และ Bluetooth 5.2 Low Energy (LE) และมีตัวเลือกในแพ็คเกจ QFN32 และ QFN40 พร้อม GPIO สูงสุด 28 ขา ชิป IoT นี้รองรับโหมดการใช้พลังงานต่าง ๆ และฟีเจอร์ Target Wake Time (TWT) เพื่อช่วยให้ลดการใช้พลังงาน รวมทั้งรองรับคุณสมบัติทาง WiFi เช่น WPA3 และ WiFi direct, ในขณะรองรับ Bluetooth 5.2 LE มีความเร็วในการรับส่งข้อมูล 2 Mbps และรองรับโหมด Long Range สเปค Gigadevice GD32VW553: MCU core – 32-bit Nuclei N307 RISC-V core @ สูงสุด 160 MHz พร้อมส่วนขยายคำสั่ง RV32I / M / A / F / D / C / P / B หน่วยความจำ – SRAM ขนาด 320KB ที่เก็บข้อมูล – แฟลช 2048KB หรือ 4096KB Wireless WiFI 6 802.11b/g/n/a […]
STMicro เปิดตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32WB09 รองรับ Bluetooth 5.3 LE และโมดูล STM32WB1MMC รองรับ Bluetooth 5.4 LE
STMicro ได้เปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ 2 รายการที่รองรับ Bluetooth 5.3/5.4 ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร STM32WB09 Cortex-M0+ ที่รองรับ Bluetooth 5.3 LE และโมดูล ST32WB1MMC Cortex-M0+/M4 ที่รองรับ Bluetooth 5.4 LE เพื่อการออกแบบที่เรียบง่ายขึ้น รวมถึง B-WB1M-WPAN1 evaluation board ไมโครคอนโทรลเลอร์ STMicro STM32WB09 รองรับ Bluetooth 5.3 LE สิ่งที่น่าสนใจของ STM32WB09: MCU core – Arm Cortex-M0+ core ทำงานที่ความเร็ว 64 MHz หน่วยความจำและที่เก็บข้อมูล – หน่วยความ flash 512 KB และ RAM 64 KB Wireless Bluetooth 5.3 รองรับการเชื่อมต่อสูงสุด 2 Mbps, long-range Tx Power – สูงสุด +8 dBm Rx Sensitivity -97 dBm ที่ 1 Mbps -104 dBm ที่ 125 bps รองรับการตรวจหาทิศทาง (Direction finding support) โดยใช้ AoA/AoD Integrated balun อื่น ๆ – crys […]
MediaTek เปิดตัว Dimensity 9300 ชิปเซ็ตสมาร์ทโฟนที่มี Cortex-X4/A720 แต่ไม่มี efficiency core
MediaTek Dimensity 9300 เป็นชิปเซ็ตสมาร์ทโฟน 5G ระดับพรีเมียมที่มี CPU 8 คอร์ประกอบด้วย Cortex-X4 จำนวน 4 คอร์ และ Cortex-A720 จำนวน 4 คอร์ แต่ไม่มี Cortex-A520 efficiency core พร้อม GPU Arm Mali-G720 รุ่นล่าสุด และ MediaTek APU 790 neural processing unit (NPU) ที่สามารถรองรับเทคโนโลยี generative AI และรองรับโมเดลภาษาขนาดใหญ่ (LLM) ที่ขนาดสูงสุด 33 พันล้านพารามิเตอร์ Arm ได้คิดค้นเทคโนโลยี big.LITTLE และ DynamIQ เพื่อผสมคอร์ในด้านการประหยัดพลังงานและประสิทธิภาพ เพื่อลดการใช้พลังงาน การเปิดตัวล่าสุดของบริษัท ได้แก่ Cortex-X4,คอร์ระดับพรีเมียม, Cortex-A720 performance/big core,และ Cortex-A520 efficient/LITTLE core แต่ MediaTek ตัดสินใจไม่ใช้คอร์เล็ก Cortex-A520 ใน Dimensity 9300 ซึ่งทำให้ฉันรู้สึกว่าแปลกสำหรับชิ […]
รีวิว Raspberry Pi 5 – Part 2: Raspberry Pi OS Bookworm, การทดสอบประสิทธิภาพ benchmarks การใช้พลังงาน และอื่นๆ
เมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมาเราได้แกะกล่องชุด Raspberry Pi 5 ดูชุดอุปกรณ์และทดสอบการบูตด้วย Raspberry Pi OS bookworm ตอนนี้เราจะทำการทดสอบเพิ่มเติมเพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพด้วย Benchmarks และตรวจสอบคุณสมบัติต่างๆ บน Raspberry Pi 5 พร้อมทั้งเปรียบเทียบ Raspberry Pi 5 กับ Raspberry Pi 4 และบอร์ด Arm Linux SBC อื่นๆ ข้อมูลระบบใน Raspberry Pi OS Bookworm เราได้ติดตั้ง Raspberry Pi 5 ในเคสของมันเรียบร้อยแล้ว แต่สำหรับการทดสอบส่วนใหญ่จะกลับไปใช้บอร์ดเปลือยที่ติดตั้งระบบระบายความร้อนแบบแอคทีฟ เพราะเป็นตัวเลือกการระบายความร้อนที่ดีที่สุด ตามที่เราจะเห็นต่อไปในรีวิว ก่อนอื่นเรามาตรวจสอบข้อมูลระบบ