Forlinx FET-MX95xx-C เป็นโมดูล (SoM หรือ system-on-module) ที่ใช้ NXP i.MX 95 SoC ที่มีซีพียู Arm Cortex-A55 สูงสุด 6 คอร์ พร้อมด้วยคอร์ Arm Cortex-M7 สำหรับงานเรียลไทม์ที่มีความถี่ 800 MHz และคอร์ Arm Cortex-M33 “ความปลอดภัย” ที่ทำงานที่ 333 MHz อีกทั้งยังติดตั้งหน่วยความจำ LPDDR4x ขนาด 8GB และ eMMC flash ขนาด 64GB นอกจากนี้ Forlinx ยังมีบอร์ดพัฒนารุ่น OK-MX95xx-C ที่อัดแน่นด้วยฟีเจอร์ต่างๆ โดยบอร์ดพัฒนานี้สร้างขึ้นบนโมดูล i.MX 95 และมาพร้อมอินเทอร์เฟสที่หลากหลาย เช่น Dual GbE, ช่องใส่ 10GbE SFP+, ขั้วต่อ Terminal blocks ที่รองรับ RS485 และ CAN Bus, พอร์ต USB Type-A สามพอร์ต, สล็อต PCIe สองช่อง และอื่นๆ โมดูล Forlinx FET-MX95xx-C สเปค: ชิป SoC – NXP i.MX 9596 ซีพียู 6x คอร์ Arm Cortex-A55 สำหรับการ […]
บอร์ด Wiznet W55RP20-EVB-Pico ที่ใช้ชิป W55RP20 SiP โดยรวมคอนโทรลเลอร์ Ethernet W5500 และ MCU RP2040
Wiznet เปิดตัวบอร์ดพัฒนา W55RP20-EVB-Pico ซึ่งเป็นบอร์ดขนาดเล็กกะทัดรัดที่ใช้ชิป W55RP20 เป็นประเภท SiP (System-in-a-Package) โดยรวมไอซี 2 วงจรไว้ในแพคเกจเดียวกัน ได้แก่ไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 และคอนโทรลเลอร์ W5500 Ethernet นอกจากนี้ยังมีชิปแฟลชขนาด 2MB สำหรับเก็บเฟิร์มแวร์ เราเคยเขียนบทความเกี่ยวกับบอร์ดพัฒนา W5100S-EVB-Pico2 และ W5500-EVB-Pico2 ซึ่งทั้งสองบอร์ดใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2350 รุ่นใหม่และคอนโทรลเลอร์ Ethernet ภายนอก (W5500 หรือ W5100S) โดยที่ RP2350 มีฟีเจอร์ด้านความปลอดภัยเพิ่มเติม เช่น หน่วยความจำ One Time Programmable (OTP), การบู๊ตอย่างปลอดภัย (Secure Boot) และเทคโนโลยี Arm TrustZone ทำให้เหมาะสมกับแอปพลิเคชันที่ต้องการความปลอดภัยมากขึ้น ในทางกลับกัน W55RP20 ได้รวมคอน […]
รีวิว BeagleY-AI SBC พร้อมทดสอบประสิทธิภาพและทดลองใช้งานบน Debian
BeagleY-AI เป็นคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยว (single board computer : SBC) แบบ open-source ของ BeagleBoard.org โดยบอร์ด BeagleY-AI นี้ถูกออกแบบมาเพื่อการประยุกต์ด้านปัญญาประดิษฐ์ โดยมีหน่วยประมวลผลหลักคือ ARM Coretex-A53 จำนวน 4 แกน ทำงานที่ความเร็ว 1.4 GHz นอกจากนั้นยังมี ARM Cortex-R5F ทำงานที่ความเร็ว 800MHz สำหรับการใช้งานทั่วไป รวมไปถึงการใช้งานกับ I/O แบบ low-lentency มี C7x DSP จำนวน 2 หน่วย พร้อมด้วย Multiply Accelertor (MMA) ที่ช่วยด้านการคำนวณปัญญาประดิษฐ์และเร่งความเร็วการคำนวณ Deel Learning โดย C7XDSP แต่ละหน่วยจะทำงานที่ความเร็ว 2 TOPs รวมสูงสุด 4 TOPS รวมทั้งยังมาพร้อมกับ BXS-4-64 ซึ่งเป็นหน่วยเร่งความเร็วกราฟิกส์ความเร็ว 50 GFlops สำหรับงานมัลติมีเดีย เช่น การเข้ารหัสและการถอดรหัสวิดีโอ สำหรับผู้ที่สนใ […]
รีวิว Radxa X4 Kit : บอร์ด SBC ที่ใช้ Intel N100 – ทดสอบประสิทธิภาพและ GPIO บน Ubuntu 24.04 (Part 2)
หลังจากที่เราได้แกะกล่องและทดสอบ Radxa X4 Kit เบื้องต้นไปแล้ว ในรีวิวนี้เราจะมาทดสอบประสิทธิภาพในการใช้งาน Radxa X4 Kit บนระบบปฎิบัติการ Ubuntu 24.04 กัน โดยทำการทดสอบมาตรฐานและเปรียบเทียบประสิทธิภาพกับซิงเกิ้ลบอร์ดยอดนิยมอย่าง Raspberry Pi 5 โดยใช้การทดสอบตามหัวข้อดังนี้ การตรวจสอบข้อมูลระบบเบื้องต้น การทดสอบ Benchmark CPU Disk Peripherals Network การทดสอบการใช้งานเว็บและมัลติมีเดียร์ การตรวจสอบการใช้พลังงาน และหลังจากนั้นเรายังจะทดสอบการใช้งานขา GPIO จำนวน 40 ขาที่เชื่อมต่อกับ MCU RP2040 ที่ติดตั้งบนบอร์ดให้เห็นกันว่าถ้าต้องการจะใช้งานจะทำได้อย่างไร ข้อมูลระบบเบื้องต้น
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 |
unoiot@radxa-x4:~/sbc-bench$ cat /etc/lsb-release DISTRIB_ID=Ubuntu DISTRIB_RELEASE=24.04 DISTRIB_CODENAME=noble DISTRIB_DESCRIPTION="Ubuntu 24.04 LTS" unoiot@radxa-x4:~/sbc-bench$ uname -a Linux radxa-x4 6.8.0-40-generic #40-Ubuntu SMP PREEMPT_DYNAMIC Fri Jul 5 10:34:03 UTC 2024 x86_64 x86_64 x86_64 GNU/Linux unoiot@radxa-x4:~/sbc-bench$ df -mh Filesystem Size Used Avail Use% Mounted on tmpfs 772M 2.3M 770M 1% /run /dev/nvme0n1p2 116G 12G 99G 11% / tmpfs 3.8G 4.0K 3.8G 1% /dev/shm tmpfs 5.0M 8.0K 5.0M 1% /run/lock efivarfs 192K 84K 104K 45% /sys/firmware/efi/efivars /dev/nvme0n1p1 1.1G 6.2M 1.1G 1% /boot/efi tmpfs 772M 2.6M 770M 1% /run/user/1000 |
โดยเราทำการติดตั้ง Ubuntu 24.04 ลงไปบน SSD ขนาด 128GB และแรมขนาด 8GB จากนั้นเราทำการอ่านข้อมูลเพิ่มเติมด้วย […]
บอร์ดพัฒนา Raspberry Pi RP2350 พร้อมพอร์ต Ethernet RJ45 ที่ใช้ชิป Ethernet controller ของ WIZNet W5500 หรือ W5100S
WIZnet ได้เปิดตัวบอร์ด Ethernet ใหม่ 2 รุ่นที่ใช้ Raspberry Pi RP2350 ได้แก่ W5100S-EVB-Pico2 และ W5500-EVB-Pico2 ซึ่งใช้ชิป Ethernet controller ที่แตกต่างกัน โดยบอร์ด W5100S-EVB-Pico2 ระดับ entry-level ใช้ชิป Ethernet controller ของ W5100S ที่มี 4 ซ็อกเก็ตอิสระและหน่วยความจำบัฟเฟอร์ 16 กิโลไบต์ ในขณะที่ W5500-EVB-Pico2 ใช้ชิป Ethernet controller ของ W5500 ซึ่งมี 8 ซ็อกเก็ต หน่วยความจำบัฟเฟอร์ 32 กิโลไบต์ และฟีเจอร์ความปลอดภัยที่ดียิ่งขึ้น เช่น หน่วยความจำ OTP, การบูตที่ปลอดภัย (Secure Boot) และเทคโนโลยี Arm TrustZone ซึ่งทำให้ W5500-EVB-Pico2 เหมาะสมกับโครงการที่ต้องการจัดการเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพและมาตรการความปลอดภัยขั้นสูง หลังจากที่ประกาศเปิดตัว Raspberry Pi Pico 2 เมื่อไม่นานนี้ เราก็ได้เห็นบอร์ดพัฒนา […]
NanoPi Zero2 : คอมพิวเตอร์ Arm Linux ขนาดจิ๋วแบบไม่มีหน้าจอ พร้อม Gigabit Ethernet, พอร์ต USB และซ็อกเก็ต M.2 Key-E สำหรับ WiFi
FriendlyELEC NanoPi Zero2 เป็นหนึ่งในคอมพิวเตอร์ Arm Linux ขนาดจิ๋วที่สุดในโลก ด้วยบอร์ดขนาด 45×45 มม. ที่มาพร้อมกับโปรเซสเซอร์ Rockchip RK3528A แบบ quad-core Cortex-A53, หน่วยความจำ RAM สูงสุด 2GB, ช่องเสียบ microSD และโมดูลแฟลช eMMC สำหรับจัดเก็บข้อมูล, พอร์ต Gigabit Ethernet RJ45, สล็อต M.2 สำหรับเชื่อมต่อ WiFi, พอร์ต USB Type-A และตัวเชื่อมต่อ GPIO FPC 30 พิน สำหรับการขยายเพิ่มเติม เราได้ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ NanoPi Zero รุ่นก่อนหน้า สิ่งที่พบที่ใกล้เคียงที่สุดคือ ZeroPi ที่เปิดตัวในปี 2019 ที่ใข้ โปรเซสเซอร์ Allwinner H3 Cortex-A7 และฟอร์มแฟกเตอร์มีขนาดเล็กกว่าที่ 40×40 มม. ส่วน NanoPi Zero2 มาพร้อมกับโปรเซสเซอร์ 64 บิต, หน่วยความจำมากขึ้น และรองรับการเชื่อมต่อโมดูล WiFi แบบ M.2 เป็นตัวเลือก พร้อม […]
รีวิว : มินิพีซี Maxtang T0-FP750 ที่ใช้ AMD Ryzen 7 8845HS – Part 2 : ทดสอบประสิทธิภาพบน Windows 11
หลังจากที่เราได้ดูสเปค แกะกล่องใช้งาน มินิพีซี Maxtang T0-FP750 ที่ใช้โซีพียู AMD Ryzen 7 8845HS พร้อมหน่วยความจำแรม DDR5 SO-DIMM แบบ dual-channel สูงสุด 64GB ที่ความถี่ 5600MHz, สล็อต M.2 จำนวน 2 อันสำหรับ SSD NVMe 2280 สูงสุด 4TB SSD (2x2TB SSD) สำหรับจัดเก็บข้อมูล, รองรับหน้าจอแยกสูงสุด 3 จอ ผ่านพอร์ต HDMI 2.0, พอร์ต USB-C, และพอร์ต DisplayPort 1.4 รองรับระบบเครือข่าย 2.5GbE, WiFi 6E และ Bluetooth 5.2 และมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Windows 11 Pro ในบทความนี้เราจะทำการทดสอบมินิพีซี Maxtang T0-FP750 พร้อม RAM DDR5 32 GB, SSD M.2 512GB บนระบบปฏิบัติการ Windows 11 Pro โดยเราจะดูภาพรวมซอฟต์แวร์และการทดสอบคุณสมบัติ, ทดสอบประสิทธิภาพ Benchmarks, ระบบเครือข่าย, ระบบระบายความร้อน, เสียงของพัดลม และการใช้พลังงานของมินิพี […]
LILYGO T-Deck Plus – ชุดพัฒนาที่ใช้ ESP32-S3 คล้ายกับ Blackberry พร้อมคีย์บอร์ด QWERTY, Trackball, LoRa, GPS, แบตเตอรี่ และอื่นๆ
LILYGO T-Deck Plus เป็นชุดพัฒนา (Development Kit) แบบพกพาที่ใช้ ESP32-S3 ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับโทรศัพท์ Blackberry พร้อมคีย์บอร์ด QWERTY และ Trackball, อุปกรณ์นี้มาพร้อมกับหน้าจอ IPS ขนาด 2.8 นิ้ว, โมดูล GPS, LoRa transceiver และแบตเตอรี่ขนาด 2,000mAh ซึ่งทำให้คุณสามารถนำไปใช้งานภายนอกและทำการทดสอบและวิจัยได้ นอกจากนี้ บอร์ดยังมีไมโครโฟน, ลำโพง และช่องใส่ microSD card สำหรับเก็บข้อมูล เมื่อปีที่แล้ว LILYGO ได้เปิดตัวชุดพัฒนา LILYGO T-Deck ที่ใช้ ESP32-S3 พร้อมการเชื่อมต่อ LoRa และหน้าจอขนาด 2.8 นิ้ว และ T-Deck Plus เป็นรุ่นต่อยอดจากการออกแบบเดิม โดยเพิ่มโมดูล GPS และแบตเตอรี่ที่มีความจุมากขึ้น สเปคของ LILYGO T-Deck Plus โมดูลไร้สาย ESP32-S3-WROOM-1 SoC – ESP32-S3FN16R8 ไมโครคอนโทรลเลอร์ Tensilica LX7 แบบ dual-c […]