หลังจากที่เราได้ดูสเปค แกะกล่องและลองใช้งาน มินิพีซี Beelink SEi12 i7-12650H ใช้โปรเซสเซอร์ Intel Core i7-12650H (10 Cores) พร้อม DDR4 32GB, M.2 SSD 500 GB ที่มาพร้อมกับปฏิบัติการ Windows 11 Pro ในบทความนี้เราจะทำการทดสอบกับระบบปฏิบัติการ Windows 11 Pro โดยเราจะดูภาพรวมซอฟต์แวร์และการทดสอบคุณสมบัติ, ทดสอบประสิทธิภาพ Benchmarks, ระบบเครือข่าย, ระบบระบายความร้อน, เสียงของพัดลม และการใช้พลังงานของมินิพีซีบน Windows 11 ภาพรวมซอฟต์แวร์และการทดสอบคุณสมบัติ เมนู System About ยืนยันว่ามินิพีซี SEi ที่ใช้โปรเซสเซอร์ 12th Gen Intel(R) Core(TM) i7-12650H, RAM 32GB, มาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Windows 11 Pro เวอร์ชั่น 23H2 ซึ่งได้ทำการอัปเดตแล้วจากเดิมเป็นเวอร์ชั่น 21H2 โปรแกรม HWiNFO ให้รายละเอียดที่ใช้โปรเซสเซอร์ Intel Core […]
รีวิว : ODROID-M1S บอร์ด SBC ที่ใช้ Rockchip RK3566 ทดสอบประสิทธิภาพบน Ubuntu
หลังจากการแกะกล่องทดสอบการทำงานของ ODROID-M1S มากว่า 1 เดือน การทดสอบประสิทธิภาพโดยรวมทั้งหมดก็เสร็จสิ้น โดยการทดสอบทำบน Ubuntu 20.04.6 LTS เนื่องจากในเว็บของ hardkernel เองมี official image ถึงเวอร์ชั่นนี้เท่านั้น ซึ่งจากผลการทดสอบนี้ จะแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในด้านต่าง ๆ ของบอร์ด ODROID-M1S ที่ใช้ Rockchip RK3566 ในทุกด้าน โดยผลการทดสอบจะเป็นอย่างไรมาติดตามผลการทดสอบกันตามหัวข้อด้านล่างกันเลยดีกว่า การทดสอบประสิทธิภาพของ ODROID-M1S มาเริ่มการวัดประสิทธิภาพของ ODROID-M1S ด้วยสคริปต์ Thomas sbc-bench.sh กันเป็นอันดับแรก
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 |
odroid@gnome-desktop:~/sbc-bench$ sudo ./sbc-bench.sh -r Starting to examine hardware/software for review purposes... Average load and/or CPU utilization too high (too much background activity). Waiting... sbc-bench v0.9.60 Installing needed tools, tinymembench, ramlat, mhz, cpufetch, cpuminer. Done. Checking cpufreq OPP... Done. Executing tinymembench. Done. Executing RAM latency tester. Done. Executing OpenSSL benchmark. Done. Executing 7-zip benchmark. Done. Throttling test: heating up the device, 5 more minutes to wait. Done. Checking cpufreq OPP again. Done (16 minutes elapsed). Results validation: * Advertised vs. measured max CPU clockspeed: -1.4% before, -1.8% after -> https://tinyurl.com/32w9rr94 * Background activity (%system) OK # Hardkernel ODROID-M1S Tested with sbc-bench v0.9.60 on Sun, 21 Jan 2024 10:14:59 +0700. ### General information: Information courtesy of cpufetch: SoC: Rockchip RK3566 Technology: 22nm Microarchitecture: Cortex-A55 Max Frequency: 1.800 GHz Cores: 4 cores Features: NEON,SHA1,SHA2,AES,CRC32 Peak Performance: 57.60 GFLOP/s Rockchip RK3566 (35662000), Kernel: aarch64, Userland: arm64 CPU sysfs topology (clusters, cpufreq members, clockspeeds) cpufreq min max CPU cluster policy speed speed core type 0 0 0 408 1800 Cortex-A55 / r2p0 1 0 0 408 1800 Cortex-A55 / r2p0 2 0 0 408 1800 Cortex-A55 / r2p0 3 0 0 408 1800 Cortex-A55 / r2p0 7676 KB available RAM ### Governors/policies (performance vs. idle consumption): Original governor settings: cpufreq-policy0: performance / 1800 MHz (interactive conservative ondemand userspace powersave performance / 408 600 816 1104 1416 1608 1800) fde60000.gpu: performance / 800 MHz (vdec2_ondemand venc_ondemand userspace powersave performance simple_ondemand / 200 300 400 600 700 800) fdf40000.rkvenc: performance / 400 MHz (vdec2_ondemand venc_ondemand userspace powersave performance simple_ondemand / 297 400) fdf80200.rkvdec: performance / 400 MHz (vdec2_ondemand venc_ondemand userspace powersave performance simple_ondemand / 297 400) Tuned governor settings: cpufreq-policy0: performance / 1800 MHz fde60000.gpu: performance / 800 MHz fdf40000.rkvenc: performance / 400 MHz fdf80200.rkvdec: performance / 400 MHz Status of performance related policies found below /sys: /sys/devices/platform/fde60000.gpu/power_policy: [coarse_demand] always_on /sys/module/pcie_aspm/parameters/policy: default [performance] powersave powersupersave ### Clockspeeds (idle vs. heated up): Before at 44.4°C: cpu0 (Cortex-A55): OPP: 1800, Measured: 1775 (-1.4%) After at 59.4°C: cpu0 (Cortex-A55): OPP: 1800, Measured: 1767 (-1.8%) ### Performance baseline * memcpy: 2906.9 MB/s, memchr: 3139.8 MB/s, memset: 7952.8 MB/s * 16M latency: 180.7 183.8 181.6 183.0 180.2 181.9 244.0 451.9 * 128M latency: 217.3 194.0 190.3 193.6 189.0 194.1 251.4 482.6 * 7-zip MIPS (3 consecutive runs): 4581, 4575, 4612 (4590 avg), single-threaded: 1322 * `aes-256-cbc 156417.72k 398262.61k 654734.34k 780968.62k 827375.62k 827000.09k` * `aes-256-cbc 157146.64k 398160.17k 653565.10k 780867.58k 826146.82k 827419.31k` ### Storage devices: * 232.9GB "WD_BLACK SN770 250GB" SSD as /dev/nvme0: Speed 5GT/s (downgraded), Width x1 (downgraded), 0% worn out, drive temp: 47°C * 58.2GB "MMC64G" HS200 eMMC 5.1 card as /dev/mmcblk0: date 05/2023, manfid/oemid: 0x000032/0x0101, hw/fw rev: 0x0/0x0300000000000000 ### Software versions: * Ubuntu 20.04.6 LTS * Compiler: /usr/bin/gcc (Ubuntu 9.4.0-1ubuntu1~20.04.2) 9.4.0 / aarch64-linux-gnu * OpenSSL 1.1.1f, built on 31 Mar 2020 ### Kernel info: * `/proc/cmdline: storagemedia=emmc androidboot.storagemedia=emmc androidboot.mode=normal root=UUID=e104067f-7a88-4dea-9fc2-2b876ee3a6ca rootwait ro quiet console=tty1 console=ttyS2,1500000 pci=nomsi fsck.mode=force fsck.repair=yes` * Vulnerability Spectre v1: Mitigation; __user pointer sanitization * Kernel 5.10.0-odroid-arm64 / CONFIG_HZ=300 Kernel 5.10.0 is not latest 5.10.208 LTS that was released on 2024-01-15. Time CPU load %cpu %sys %usr %nice %io %irq Temp 10:15:06: 1800MHz 3.54 14% 1% 11% 0% 0% 0% 53.8°C 10:16:06: 1800MHz 1.30 0% 0% 0% 0% 0% 0% 48.3°C 10:17:06: 1800MHz 0.47 0% 0% 0% 0% 0% 0% 46.7°C 10:18:06: 1800MHz 0.17 0% 0% 0% 0% 0% 0% 45.0°C 10:19:06: 1800MHz 0.06 0% 0% 0% 0% 0% 0% 44.4°C |
จากผลการทดสอบ เมื่อทดสอบ stress จนอุณหภูมิขึ้นไปที่ 59.4 °C ไม่มีการจำกัดความเร็วของสัญญาณนาฬิกา CPU ในห้องที่มีอุณหภูมิแวดล้อมประมาณ 29°C, ในส่วนของแบนด์วิดท์ […]
Sapphire Edge+ VPR-4616-MB : เมนบอร์ด mini-ITX ที่ใช้สถาปัตยกรรม AMD Embedded+ พร้อม Ryzen R2314 และ Versal VE2302
Sapphire Edge+ VPR-4616-MB เป็นเมนบอร์ด mini-ITX รุ่นใหม่ที่ใช้สถาปัตยกรรม AMD Embedded+ ที่ประกอบด้วยโปรเซสเซอร์ AMD Ryzen Embedded R2314 และ SoC ที่ปรับเปลี่ยนได้ของ AMD Versal AI Edge VE2302 (หรือ FPGA SoC) เมนบอร์ดรองรับหน่วยความจำ DDR4 ECC/non-ECC สำหรับ CPU ได้สูงสุดถึง 64GB และหน่วยความจำ 8GB สำหรับ SoC ที่ปรับเปลี่ยนได้, รองรับที่เก็บข้อมูลแบบ SATA และ NVMe, เอาต์พุตวิดีโอ 2 พอร์ต, การเชื่อมต่อเครือข่าย 2.5GbE และพอร์ต USB และช่อง M.2 socket สำหรับการขยาย, โซลูชัน AMD Embedded+ มีเป้าหมายสำหรับการรวมเซ็นเซอร์, AI Inferencing, การเชื่อมต่อเครือข่ายอุตสาหกรรม การควบคุม และการแสดงผลแอปพลิเคชัน สเปคของ SAPPHIRE Edge+ VPR-4616-MB: สถาปัตยกรรม AMD Embedded+ SoC Subsystem ที่ปรับเปลี่ยนได้ IC หลัก – AMD Versal […]
รีวิว : มินิพีซี Maxtang MTN-FP750 (AMD Ryzen 7 7735HS) – Part 3 : ทดสอบประสิทธิภาพบน Ubuntu 22.04
หลังจากที่เราได้แกะกล่องและเปิดใช้งาน Part 1 และทดสอบประสิทธิภาพบน Windows 11 (Part2) ของ มินิพีซี Maxtang MTN-FP750 หรือ NUC-7735HS-A16 ใช้ซีพียู AMD Ryzen 7 7735HS พร้อม RAM DDR5 32 GB, SSD M.2 512GB ในบทความนี้เราจะทำการทดสอบประสิทธิภาพกับระบบปฏิบัติการ Ubuntu 22.04 Linux โดยเราจะดูภาพรวมซอฟต์แวร์และการทดสอบคุณสมบัติ, ทดสอบประสิทธิภาพ Benchmarks, การทดสอบประสิทธิภาพของที่เก็บข้อมูล (SSD และพอร์ต USB), ทดสอบประสิทธิภาพของระบบเครือข่าย, การทดสอบ Stress test และอุณหภูมิ CPU, เสียงของพัดลม และการใช้พลังงานของมินิพีซี เราจะทำการติดตั้ง Ubuntu 22.04 ควบคู่ไปกับ Windows 11 ดังนั้นเราจึงลดขนาดพาร์ติชัน Windows 11 ลงประมาณครึ่งหนึ่งก่อนที่จะใส่ไดรฟ์ USB Ubuntu 22.04.3 เพื่อติดตั้ง Linux distribution ข้อมูลระบบบน Ubun […]
รีวิว มินิพีซีจิ๋ว Blackview MP80 (Processor N97) ทดสอบประสิทธิภาพบน Fedora 39
หลังจากที่เราได้แกะกล่องและทดสอบประสิทธิภาพบน Windows 11 ของมินิพีซีจิ๋ว Blackview MP80 ใช้ซีพียู Intel Alder Lake-N Processor N97 พร้อม RAM 16GB และ M.2 SSD 512GB ต่อไปเราจะทดสอบประสิทธิภาพกับระบบปฏิบัติการ Linux Ubuntu/Linux และ Blackview MP80 ฉันได้บูต Ubuntu 22.04 บน Blackview MP80 ผ่าน USB flash drive ที่มีไฟล์ Ubuntu 22.04.3 ISO ซึ่งมีบางอย่างผิดปกติระหว่างการติดตั้ง โปรแกรมติดตั้ง Ubuntu ไม่สำเร็จ ดังนั้นเราจึงลองติดตั้งระบบปฎิบัติการ Linux อื่นอย่าง Fedora และเราก็ติดตั้งได้สำเร็จ เราจะทำการทดสอบกับระบบปฎิบัติการบน Fedora โดยเราจะดูภาพรวมซอฟต์แวร์และการทดสอบคุณสมบัติ, ทดสอบประสิทธิภาพ Benchmarks, การทดสอบประสิทธิภาพของที่เก็บข้อมูล SSD, ทดสอบประสิทธิภาพของระบบเครือข่าย, การทดสอบ Stress test และอุณหภูม […]
รีวิว : มินิพีซี GEEKOM Mini IT12 (Intel Core i7-12650H) – Part 2 : ทดสอบประสิทธิภาพบน Windows 11
เราได้ดูฮาร์ดแวร์ แกะกล่องและเปิดใช้งานมินิพีซี GEEKOM Mini IT12 ที่ใช้โปรเซสเซอร์ Intel Core i7-12650H พร้อม DDR4 32GB, SSD M.2 1TB กันไปแล้ว ในบทความนี้เราจะทำการทดสอบกับระบบปฏิบัติการ Windows 11 Pro โดยเราจะดูภาพรวมซอฟต์แวร์และการทดสอบคุณสมบัติ, ทดสอบประสิทธิภาพ Benchmarks, ทดสอบประสิทธิภาพของระบบเครือข่าย, ระบบระบายความร้อน, เสียงของพัดลม และการใช้พลังงานของมินิพีซีบน Windows 11 ภาพรวมซอฟต์แวร์และการทดสอบคุณสมบัติ เมนู System About ยืนยันว่ามินิพีซี GEEKOM Mini IT12 (แต่ตรงด้านบนระบุว่าเป็น Mini Air12) ที่ใช้โปรเซสเซอร์ Intel Core i7-12650H พร้อม RAM ขนาด 32GB มาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Windows 11 Pro เวอร์ชั่น 23H2 (อัปเดตแล้ว) ตอนแรกระบบจะติดอยู่ที่ 22H2 หลังจากการอัปเดตหลายครั้ง และเราไม่สามารถอัปเดตเพิ่มเ […]
รีวิว : มินิพีซี GEEKOM Mini Air12 (Intel Processor N100) ทดสอบประสิทธิภาพบน Ubuntu 22.04 Linux (Part3)
หลังจากที่เราได้ทดสอบมินิพีซี GEEKOM Mini Air12 ที่ใช้ซีพียู Intel Processor N100 แกะกล่องและลองใช้งานใน Part 1 และ Part 2 ทดสอบประสิทธิภาพบน Windows 11 และในส่วนของบทความนี้เราได้ทำการการติดตั้ง Ubuntu 22.04 เพื่อทดสอบประสิทธิภาพบนระบบปฏิบัติการ Ubuntu 22.04 Linux บนซีพียู Intel N100 โดยเราจะดูภาพรวมซอฟต์แวร์และการทดสอบคุณสมบัติ, ทดสอบประสิทธิภาพ Benchmarks, ทดสอบประสิทธิภาพของระบบเครือข่าย, ระบบระบายความร้อน, เสียงของพัดลม และการใช้พลังงานของมินิพีซี เราจะทำการติดตั้ง Ubuntu 22.04 ควบคู่ไปกับ Windows 11 ดังนั้นเราจึงลดขนาดพาร์ติชัน Windows 11 ลงประมาณครึ่งหนึ่งก่อนที่จะใส่ไดรฟ์ USB Ubuntu 22.04.3 เพื่อติดตั้ง Linux distribution ข้อมูลระบบ Ubuntu 22.04 ข้อมูลระบบใน Ubuntu 22.04 แสดงให้เห็นว่ามี ใช้ซีพียู Inte […]
NanoPi R2S Plus – บอร์ด SBC และเราเตอร์ พร้อม dual GbE, flash 32GB, พอร์ต USB-C debug, M.2 socket สำหรับ WiFi
NanoPi R2S Plus บอร์ด SBC และเราเตอร์ พร้อม dual GbE เป็นรุ่นอัพเดตของ NanoPi R2S SBC ที่ใช้ Rockchip RK3328 ซึ่งเปิดตัวในปี 2020, บอร์ด SBC และเราเตอร์รุ่นใหม่ได้เพิ่ม eMMC flash ขนาด 32GB, พอร์ต USB-C debug เพื่อการดีบักที่ง่ายขึ้นโดยไม่ต้องเปิดกล่องเคส และช่อง M.2 socket สำหรับโมดูล SDIO WiFi ที่เป็นอุปกรณ์เสริม NanoPi R2S Plus มาพร้อมกับหน่วยความจำ DDR4 1GB, microSD card, พอร์ต gigabit Ethernet 2 พอร์ตที่ใช้งานผ่าน GMAC ของ RK3328 และคอนโทรลเลอร์ USB 3.0, ได้เพิ่มพอร์ต extra USB 2.0 อีก 1 พอร์ต แต่ไม่มีพอร์ต micro USB ที่ใช้สำหรับจ่ายไฟด้วยพอร์ต USB-C สเปค NanoPi R2S Plus: SoC – Rockchip RK3328 quad-core Cortex-A53 @ 1.5 GHz พร้อม Arm Mali-450MP2 หน่วยความจำ – RAM DDR4 1GB ที่เก็บข้อมูล – eMMC flash ขนาด 32 […]