เมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมาเราได้แกะกล่องชุด Raspberry Pi 5 ดูชุดอุปกรณ์และทดสอบการบูตด้วย Raspberry Pi OS bookworm ตอนนี้เราจะทำการทดสอบเพิ่มเติมเพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพด้วย Benchmarks และตรวจสอบคุณสมบัติต่างๆ บน Raspberry Pi 5 พร้อมทั้งเปรียบเทียบ Raspberry Pi 5 กับ Raspberry Pi 4 และบอร์ด Arm Linux SBC อื่นๆ ข้อมูลระบบใน Raspberry Pi OS Bookworm เราได้ติดตั้ง Raspberry Pi 5 ในเคสของมันเรียบร้อยแล้ว แต่สำหรับการทดสอบส่วนใหญ่จะกลับไปใช้บอร์ดเปลือยที่ติดตั้งระบบระบายความร้อนแบบแอคทีฟ เพราะเป็นตัวเลือกการระบายความร้อนที่ดีที่สุด ตามที่เราจะเห็นต่อไปในรีวิว ก่อนอื่นเรามาตรวจสอบข้อมูลระบบ
รีวิวชุด Raspberry Pi 5 – Part 1: แกะกล่อง การประกอบ และลองใช้งานครั้งแรก
ฉันพร้อมที่กับการรีวิว Raspberry Pi 5 ที่บริษัทส่งมาให้เมื่อเดือนที่แล้ว ฉันจะทำการรีวิวโดยใช้ Raspberry Pi OS Bookworm ที่มีพื้นฐานจาก Debian 12 และ “tropical reviews” ของ CNX Software จะเยอะกว่ารีวิวอื่น ๆ เนื่องจากอุณหภูมิสภาพแวดล้อมสูง (ประมาณ 28°C ในห้องของฉัน) ในประเทศไทย บริษัท Raspberry Pi ได้ส่ง Raspberry Pi 5 พร้อมชุดอุปกรณ์ครบครัน พร้อมคีย์บอร์ด เมาส์ กล่องเคส และอื่นๆ อีกมากมาย เราจะเริ่มต้นบทความที่ดูฮาร์ดแวร์แกะกล่อง การประกอบ และลองใช้งานครั้งแรกด้วย Debian 12 บนบอร์ด SBC ใหม่ แกะกล่องชุดคิท Raspberry Pi 5 นอกจากบอร์ด Raspberry Pi 5 แล้ว ในแพ็คเกจยังมีเครื่องทำความเย็น active cooler พร้อมฮีทซิงค์และพัดลมระบายความร้อน, microSD card ที่ติดตั้ง Raspberry Pi OS เวอร์ชั่น Bookworm ไว้พร้อม […]
Radxa Zero 3W : บอร์ด SBC ที่ใช้ SoC Rockchip RK3566, RAM สูงสุด 8GB ในรูปแบบ Raspberry Pi Zero 2 W
มีบอร์ด SBC ที่คล้ายกับ Raspberry Pi Zero 2 W มากขึ้นในตลาด รวมถึง Orange Pi Zero 2W ที่ใช้ Allwinner H618 ที่เปิดตัวไปแล้ว, และตอนนี้ Radxa ได้เปิดตัว Zero 3W พร้อมกับโปรเซสเซอร์ Rockchip RK3566 ความเร็ว 1.6 GHz และ RAM สูงสุด 8GB ทำให้เป็นหนึ่งในบอร์ด Arm Linux SBC ที่ทรงพลังที่สุด ใช้รูปแบบขนาดเล็กที่เป็นตามบอร์ด Raspberry Pi Zero 2 W form factor บอร์ดยังมาพร้อมกับตัวเลือก eMMC flash ที่รองรับความจุสูงสุดถึง 64GB, ช่องเสียบ microSD card, พอร์ต micro HDMI, พอร์ต USB Type-C จำนวน 2 พอร์ต, การเชื่อมต่อไร้สาย WiFi 4 และ Bluetooth 5.0, คอนเนกเตอร์กล้อง MIPI CSI และ GPIO header 40 ขาที่เป็นมาตรฐานของ Raspberry Pi สเปค Radxa Zero 3W: SoC – Rockchip RK3566 CPU – โปรเซสเซอร์ Quad-core Arm Cortex-A55 @ 1.6 GHz ( […]
เปิดตัว Linux 6.6 : การเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจของสถาปัตยกรรม Arm, RISC-V และ MIPS
Linus Torvalds ได้ประกาศเปิดตัว Linux 6.5 บน Linux Kernel Mailing List (LKML). เมื่อประมาณ 2 เดือนที่ผ่านมาได้เปิดตัว Linux 6.5 ที่มาพร้อมการรองรับเบื้องต้นสำหรับ USB4 v2 ที่มีความเร็วสูงสุดถึง 80Gbps, การอัพเกรดการรองรับ Rust, สถาปัตยกรรม Loongarch ได้รับการรองรับสำหรับ simultaneous multi-threading (SMT) และการสร้างด้วย Clang compiler, การเพิ่มส่วนขยายการอนุญาต หรือ permission-indirection extension (PIE) สำหรับ arm64 ในการกำหนดสิทธิด้านความปลอดภัยในอนาคต, การรองรับบอร์ด NVIDIA IGX Orin และ Jetson Orin Nano, และการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ อีกมากมาย มีอะไรที่น่าสนใจใน Linux 6.6 การเปลี่ยนแปลงและการอัปเดตที่น่าสนใจใน Linux 6.6 kernel ได้แก่: การรองรับฮาร์ดแวร์ Shadow Stack ของ Intel เพื่อป้องกันการใช้ช่องโหว่ Shadow Sta […]
รีวิวอุปกรณ์เทคโนโลยี Z-Wave – RaZberry 7 Pro และ Z-Uno2
เมื่อเร็วๆนี้เราได้รับ RaZberry 7 Pro และ Z-Uno2 ซึ่งเป็นอุปกรณ์ Smart Home ที่ใช้ Z-Wave เทคโนโลยีจากบริษัท Z-Wave.Me มาทำการทดสอบ บริษัทนี้สร้างผลิตภัณฑ์บน Z-Wave เทคโนโลยีเป็นหลัก และเป็นสมาชิกของ Z-Wave Alliance สำหรับหลายคนที่ปวดหัวกับปัญหาของคลื่นความถี่ที่ทับซ้อนกันมากมายในย่าน 2.4GHz (Wifi, Zigbee,Thread) เทคโนโลยี Z-Wave เป็นทางเลือกที่ดีมากๆ เพราะใช้คลื่นความถี่ในย่าน 800-900 MHz ที่แออัดน้อยลง นอกเหนือจากนั้นเทคโนโลยี Z-Wave ยังมีมาช้านานกว่า 20 ปี ทำให้มีอุปกรณ์ที่ใช้ Z-Wave มากมายในท้องตลาดและสามารถใช้ร่วมกันข้ามค่ายได้เป็นอย่างดีซึ่งเป็นข้อดีอีกข้อนึงถ้าจะเปรียบเทียบกับโปรโตคอลอื่นๆ อุปกรณ์ที่เราได้รับมีสองชิ้นคือ RaZberry 7 Pro ซึ่งเป็น Shield ที่เสียบลงบน GPIO ของ Raspberry Pi เพื่อทำให้ Raspber […]
Weather Orbs ที่ใช้ Raspberry Pi Zero W แสดงข้อมูลสภาพอากาศบนหน้าจอทรงกลม 3 จอ
Weather Orbs ของ Peter Holderith เป็นสถานีตรวจวัดอากาศที่ใช้ Raspberry Pi Zero W ซึ่งแสดงข้อมูลสภาพอากาศแบบเคลื่อนไหวจาก NOAA และ NWS บนจอแสดงผลทรงกลมขนาดเล็ก 3 จอที่เชื่อมต่อผ่าน SPI ภายในเป็นบอร์ดเสริมที่เชื่อมต่อกับ Pin-GPIO-Header 40 ขาของ Raspberry Pi Zero W และมี Header เพิ่มอีก 3 ส่วนเพื่อเชื่อมต่อกับจอแสดงผลทรงกลมของสมาร์ทวอทช์ PCB ยังมาพร้อมกับไฟ LED RGB 16 ดวงเพื่อสร้างเอฟเฟกต์แสงที่สวยงาม Raspberry Pi Zero W และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสริมมานั้นถูกจัดเก็บในเคสที่พิมพ์ด้วย 3D คุณภาพสูง ฝาครอบทำจากสแตนเลสแบบมัน (Brushed stainless steel) และแว่นขยายแบบแก้วช่วยสร้างให้ดีไซน์มีสไตล์ย้อนยุค เฟิร์มแวร์เริ่มต้นจะดึงข้อมูลสภาพอากาศ เช่น ภาพดาวเทียมสดจาก NOAA หรือเรดาร์จาก NWS แล้วแสดงบนหน้าจอกลม 3 จอ นอกจากน […]
Waveshare RP2040-PiZero : บอร์ดที่ใช้ชิป Raspberry Pi RP2040 ใช้รูปแบบตาม Raspberry Pi Zero
บอร์ด Waveshare RP2040-PiZero ใช้รูปแบบของบอร์ดให้ไปเป็นตามบอร์ด Raspberry Pi Zero form factor เป็นบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 แทนการใช้โปรเซสเซอร์ที่รองรับ Linux บอร์ด RP2040 มีรูปแบบเดียวกันกับ Raspberry Pi Zero และมีพอร์ตที่คล้ายกัน คือพอร์ต USB Type-C จำนวน 2 พอร์ต, คอนเนกเตอร์ mini HDMI/DVI, ช่องใส่ microSD card และ pin-GPIO-header 40 ขา แต่เพิ่มรองรับแบตเตอรี่ LiPo ด้วยตัวเชื่อมต่อ 2 ขา และวงจรการชาร์จแบตเตอรี่ สเปค RP2040-PiZero: MCU – ไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 dual-core Cortex M0+ microcontroller @ 133 MHz พร้อม embedded SRAM 264 kB ที่เก็บข้อมูล – SPI flash ขนาด 16MB, ช่องใส่ microSD card วิดีโอ – พอร์ต Mini HDMI ที่สามารถส่งสัญญาณ DVI ได้ USB – 1x พอร์ต USB Type-C สำหรับการ […]
Raspberry Pi RP1 พร้อมเอกสาร datasheet และบล็อกไดอะแกรม
เมื่อเร็ว ๆ นี้มีการเปิดตัว Raspberry Pi 5 พร้อมกับซีพียู Broadcom BCM2712 และชิป RP1 เป็นชิป I/O controller ที่ออกแบบโดย Raspberry Pi เหมือนกับที่บริษัทออกแบบไมโครคอนโทรลเลอร์ RP2 (RP2040) และตอนนี้เรามีรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Raspberry Pi RP1 รวมถึงเอกสาร datasheet (ฉบับร่าง) และบล็อกไดอะแกรม ชิป RP2040 ได้เปิดตัวก่อน และ ชิป RP1 peripheral controller ได้เริ่มต้นการออกแบบเมื่อ 7 ปีที่แล้วด้วยงบประมาณด้านการวิจัยและพัฒนาเพื่อพัฒนา Raspberry Pi 5 ประมาณ 25 ล้านดอลลาร์ (900 ล้านบาท) ในตอนเปิดตัวเราทราบเพียงว่า RP1 จัดการ I/O, แบนด์วิดธ์ USB ที่เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าด้วย USB 3.0 hosts แยกกัน 2 พอร์ต และอินเทอร์เฟส MIPI ที่มีความเร็วสูง แต่ยังไม่ชัดเจนว่าการเชื่อมต่ออื่น ๆ มาจากชิป BCM2712 หรือ RP1 แต่ตอนนี้เร […]