Rockchip ได้เปิดตัว RK3688 AIoT SoC ที่ใช้ Armv9.3 Cortex-A7xx cores โดยสามารถให้ประสิทธิภาพได้สูงถึง 250K DMIPS (ขณะที่ RK3588 ให้ 93K DMIPS) นอกจากนี้ยังมาพร้อมกับ GPU ที่มีประสิทธิภาพถึง 1 TFLOPS และ NPU (Neural Processing Unit) ที่มีประสิทธิภาพ 16 TOPS โปรเซสเซอร์ใหม่ RK3688 เป็นรุ่นต่อจาก Rockchip RK3588 เป็นโปรเซสเซอร์แบบ octa-core ที่ใช้ Cortex-A76/A55 เปิดตัวครั้งแรกในปี 2019 และยังมาพร้อมกับอินเทอร์เฟสหน่วยความจำ LPDDR4/4x/5 แบบ 128 บิต และอินเทอร์เฟสหน่วยความจำ UFS 4.0 ขณะนี้เรารู้เกี่ยวกับโปรเซสเซอร์ RK3688 เพียงเท่านี้ยังไม่มีการเปิดเผยรายละเอียด แต่เราสามารถสรุปได้ว่ามันอาจจะใช้ Arm Cortex-A7xx core ใหม่ที่ยังไม่ได้ประกาศ ซึ่งอาจมีชื่อว่า Cortex-A730 หรือ Cortex-A735 เนื่องจากไม่มีการประกาศเกี่ยวก […]
เปิดตัว Linux 6.11 พร้อมเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของสถาปัตยกรรม Arm, RISC-V และ MIPS
Linux Torvalds ได้ประกาศเปิดตัว Linux 6.11 บน LKML (Linux kernel mailing list), Linux 6.10 เวอร์ชันก่อนหน้านี้ โดยมีการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของเครือข่าย เพิ่มประสิทธิภาพการส่งแบบ zero-copy โดยใช้ io_uring และการรวมหลายบัฟเฟอร์สำหรับการส่งและรับข้อมูล, การเรียกใช้ระบบ mseal() system กับ Linux 6.10 เพื่ออนุญาตให้กระบวนการห้ามการเปลี่ยนแปลงในส่วนของ address space ในอนาคต, เพิ่มการรองรับ Bluetooth ให้กับโมดูลไร้สาย MediaTek MT7922 ที่พบในมินิพีซีและแล็ปท็อป และมีการเปลี่ยนแปลงระบบไฟล์บางตัวเช่น NFS, XFS, FUSE และ overlayfs รวมถึงการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญใน Linux 6.11 การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญบางส่วนใน Linux 6.11: มีการปรับปรุงการใช้งาน AES-GCM cipher ใหม่สำหรับระบบ x86-64 ที่มีการปรับปรุงประสิท […]
เปิดตัว Linux 6.10 พร้อมเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของสถาปัตยกรรม Arm, RISC-V และ MIPS
Linux Torvalds ได้ประกาศเปิดตัว Linux 6.10 บน LKML (Linux kernel mailing list), เมื่อประมาณ 2 เดือนทีผ่านมาได้เปิดตัว Linux 6.9 โดยเพิ่มการรองรับ Intel Flexible Return and Event Delivery (FRED), การรองรับการรัน AMD Secure Nested Paging (SNP) guests, การแก้ไขปัญหา “Register File Data Sampling” (RFDS) ซึ่งเป็นช่องโหว่ทางฮาร์ดแวร์ที่มีผลกระทบกับ Intel Atom CPUs, ฟีเจอร์ named address spaces ของ GCC เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเข้าถึงข้อมูล per-CPU, และการรองรับเบื้องต้นสำหรับ FUSE passthrough รวมถึงการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญใน Linux 6.10 การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญบางส่วนใน Linux 6.10: การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของเครือข่าย – เพิ่มประสิทธิภาพการส่งแบบ zero-copy โดยใช้ io_uring และการรวมหล […]
เปิดตัว Linux 6.9 – มีการปลี่ยนแปลงหลักของสถาปัตยกรรม Arm, RISC-V และ MIPS
Linus Torvalds ได้ประกาศเปิดตัว Linux 6.9 บน LKML (Linux kernel mailing list), เมื่อประมาณ 2 เดือนทีผ่านมาได้เปิดตัว Linux 6.8 โดยมีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือ รองรับไดร์ฟเวอร์กราฟฟิค Intel Xer ที่เป็นรุ่นทดลองใหม่ซึ่งมีเป้าหมายที่จะแทนที่ไดรเวอร์ i915 รุ่นเก่าสำหรับ GPU Intel, zswap subsystem เพิ่มความสามารถที่บังคับให้ข้อมูลที่ไม่ค่อยได้ใช้งานที่อยู่ในแรม ไปเก็บไว้ใน Swap เมื่อมีการใช้งานจนแรมเต็มแล้ว, เพิ่มการรองรับภาษา Rust สำหรับการสร้างไดรเวอร์ PHY ในเครือข่าย, โครงสร้างข้อมูลในส่วนหลักของเครือข่ายได้รับการจัดระเบียบใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแคช และการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ อีกมากมาย Linux 6.8 ยังเป็นเคอร์เนลเริ่มต้นในระบบปฏิบัติการ Ubuntu 24.04 การเปลี่ยนแปลงสำคัญใน Linux 6.9 บางบางส่วนของการเปลี่ยนแปลงที่สำค […]
รีวิว AI และ LLM บน Rockchip RK3588 ด้วย Mixtile Blade 3 ซิงเกิ้ลบอร์ดที่มี RAM 32GB
Mixtile เป็นบริษัทที่พัฒนาฮาร์ดแวร์โซลูชั่นสำหรับงานหลายๆด้านทั้ง IoT, AI และ Industrial gateway ซึ่งทาง Mixtile ได้ส่งผลิตภัณฑ์ที่ชื่อว่า Mixtile Blade 3 ซึ่งเป็นบอร์ดที่ออกแบบมาน่าสนใจมาก เพราะเป็น RK3588 ที่มี RAM สูงถึง 32 GB และยังมีความน่าสนใจอื่น ๆ อีกที่รอการรีวิว น่าสนใจยังไงมาลองติดตามไปด้วยกัน ตั้งแต่แกะกล่อง ,ทดสอบใช้งาน RKNPU จนถึงลองใช้งาน LLM บน Mixtile Blade 3 นี้กันเลยดีกว่า แกะกล่อง Mixtile Blade 3 ในกล่องพัสดุที่ทาง Mixtile ส่งมาให้ประกอบด้วยกล่องกระดาษสองกล่อง กล่องแรกคือบอร์ด Mixtile Blade 3 และกล่องที่สองคือ Mixtile Blade 3 Case เรามาแกะกล่องแรกคือบอร์ด Mixtile Blade 3 กันก่อน เมื่อแกะกล่องก็จะพบกับบอร์ดที่ค่อนข้างมีน้ำหนักเลย พอหยิบมาดูก็พบว่าเพราะมีการใส่ Heat sink ขนาดใหญ่เท่ากับบอร์ดไ […]
รีวิว : ODROID-M1S บอร์ด SBC ที่ใช้ Rockchip RK3566 ทดสอบประสิทธิภาพบน Ubuntu
หลังจากการแกะกล่องทดสอบการทำงานของ ODROID-M1S มากว่า 1 เดือน การทดสอบประสิทธิภาพโดยรวมทั้งหมดก็เสร็จสิ้น โดยการทดสอบทำบน Ubuntu 20.04.6 LTS เนื่องจากในเว็บของ hardkernel เองมี official image ถึงเวอร์ชั่นนี้เท่านั้น ซึ่งจากผลการทดสอบนี้ จะแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในด้านต่าง ๆ ของบอร์ด ODROID-M1S ที่ใช้ Rockchip RK3566 ในทุกด้าน โดยผลการทดสอบจะเป็นอย่างไรมาติดตามผลการทดสอบกันตามหัวข้อด้านล่างกันเลยดีกว่า การทดสอบประสิทธิภาพของ ODROID-M1S มาเริ่มการวัดประสิทธิภาพของ ODROID-M1S ด้วยสคริปต์ Thomas sbc-bench.sh กันเป็นอันดับแรก
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 |
odroid@gnome-desktop:~/sbc-bench$ sudo ./sbc-bench.sh -r Starting to examine hardware/software for review purposes... Average load and/or CPU utilization too high (too much background activity). Waiting... sbc-bench v0.9.60 Installing needed tools, tinymembench, ramlat, mhz, cpufetch, cpuminer. Done. Checking cpufreq OPP... Done. Executing tinymembench. Done. Executing RAM latency tester. Done. Executing OpenSSL benchmark. Done. Executing 7-zip benchmark. Done. Throttling test: heating up the device, 5 more minutes to wait. Done. Checking cpufreq OPP again. Done (16 minutes elapsed). Results validation: * Advertised vs. measured max CPU clockspeed: -1.4% before, -1.8% after -> https://tinyurl.com/32w9rr94 * Background activity (%system) OK # Hardkernel ODROID-M1S Tested with sbc-bench v0.9.60 on Sun, 21 Jan 2024 10:14:59 +0700. ### General information: Information courtesy of cpufetch: SoC: Rockchip RK3566 Technology: 22nm Microarchitecture: Cortex-A55 Max Frequency: 1.800 GHz Cores: 4 cores Features: NEON,SHA1,SHA2,AES,CRC32 Peak Performance: 57.60 GFLOP/s Rockchip RK3566 (35662000), Kernel: aarch64, Userland: arm64 CPU sysfs topology (clusters, cpufreq members, clockspeeds) cpufreq min max CPU cluster policy speed speed core type 0 0 0 408 1800 Cortex-A55 / r2p0 1 0 0 408 1800 Cortex-A55 / r2p0 2 0 0 408 1800 Cortex-A55 / r2p0 3 0 0 408 1800 Cortex-A55 / r2p0 7676 KB available RAM ### Governors/policies (performance vs. idle consumption): Original governor settings: cpufreq-policy0: performance / 1800 MHz (interactive conservative ondemand userspace powersave performance / 408 600 816 1104 1416 1608 1800) fde60000.gpu: performance / 800 MHz (vdec2_ondemand venc_ondemand userspace powersave performance simple_ondemand / 200 300 400 600 700 800) fdf40000.rkvenc: performance / 400 MHz (vdec2_ondemand venc_ondemand userspace powersave performance simple_ondemand / 297 400) fdf80200.rkvdec: performance / 400 MHz (vdec2_ondemand venc_ondemand userspace powersave performance simple_ondemand / 297 400) Tuned governor settings: cpufreq-policy0: performance / 1800 MHz fde60000.gpu: performance / 800 MHz fdf40000.rkvenc: performance / 400 MHz fdf80200.rkvdec: performance / 400 MHz Status of performance related policies found below /sys: /sys/devices/platform/fde60000.gpu/power_policy: [coarse_demand] always_on /sys/module/pcie_aspm/parameters/policy: default [performance] powersave powersupersave ### Clockspeeds (idle vs. heated up): Before at 44.4°C: cpu0 (Cortex-A55): OPP: 1800, Measured: 1775 (-1.4%) After at 59.4°C: cpu0 (Cortex-A55): OPP: 1800, Measured: 1767 (-1.8%) ### Performance baseline * memcpy: 2906.9 MB/s, memchr: 3139.8 MB/s, memset: 7952.8 MB/s * 16M latency: 180.7 183.8 181.6 183.0 180.2 181.9 244.0 451.9 * 128M latency: 217.3 194.0 190.3 193.6 189.0 194.1 251.4 482.6 * 7-zip MIPS (3 consecutive runs): 4581, 4575, 4612 (4590 avg), single-threaded: 1322 * `aes-256-cbc 156417.72k 398262.61k 654734.34k 780968.62k 827375.62k 827000.09k` * `aes-256-cbc 157146.64k 398160.17k 653565.10k 780867.58k 826146.82k 827419.31k` ### Storage devices: * 232.9GB "WD_BLACK SN770 250GB" SSD as /dev/nvme0: Speed 5GT/s (downgraded), Width x1 (downgraded), 0% worn out, drive temp: 47°C * 58.2GB "MMC64G" HS200 eMMC 5.1 card as /dev/mmcblk0: date 05/2023, manfid/oemid: 0x000032/0x0101, hw/fw rev: 0x0/0x0300000000000000 ### Software versions: * Ubuntu 20.04.6 LTS * Compiler: /usr/bin/gcc (Ubuntu 9.4.0-1ubuntu1~20.04.2) 9.4.0 / aarch64-linux-gnu * OpenSSL 1.1.1f, built on 31 Mar 2020 ### Kernel info: * `/proc/cmdline: storagemedia=emmc androidboot.storagemedia=emmc androidboot.mode=normal root=UUID=e104067f-7a88-4dea-9fc2-2b876ee3a6ca rootwait ro quiet console=tty1 console=ttyS2,1500000 pci=nomsi fsck.mode=force fsck.repair=yes` * Vulnerability Spectre v1: Mitigation; __user pointer sanitization * Kernel 5.10.0-odroid-arm64 / CONFIG_HZ=300 Kernel 5.10.0 is not latest 5.10.208 LTS that was released on 2024-01-15. Time CPU load %cpu %sys %usr %nice %io %irq Temp 10:15:06: 1800MHz 3.54 14% 1% 11% 0% 0% 0% 53.8°C 10:16:06: 1800MHz 1.30 0% 0% 0% 0% 0% 0% 48.3°C 10:17:06: 1800MHz 0.47 0% 0% 0% 0% 0% 0% 46.7°C 10:18:06: 1800MHz 0.17 0% 0% 0% 0% 0% 0% 45.0°C 10:19:06: 1800MHz 0.06 0% 0% 0% 0% 0% 0% 44.4°C |
จากผลการทดสอบ เมื่อทดสอบ stress จนอุณหภูมิขึ้นไปที่ 59.4 °C ไม่มีการจำกัดความเร็วของสัญญาณนาฬิกา CPU ในห้องที่มีอุณหภูมิแวดล้อมประมาณ 29°C, ในส่วนของแบนด์วิดท์ […]
รีวิว : แกะกล่อง ODROID-M1S บอร์ด SBC ฉลองครบรอบ 15 ปี ที่ใช้ Rockchip RK3566
บอร์ด ODROID-M1S ได้ออกแบบมาสำหรับการเฉลิมฉลองวันครบรอบ 15 ปีของ Hardkernel โดยเมื่อเทียบกับบอร์ด SBC ODROID-M1 รุ่นเดิมที่ใช้ CPU Rockchip RK3568 SoC ที่เปิดตัวไปเมื่อปีที่แล้วนั้น บอร์ด ODROID-M1S มีขนาดเล็กกว่า ราคาถูกกว่า โดยเริ่มต้นที่ $49 (~1,700฿) และมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม โดย Hardkernel ได้แจ้งว่าจะส่งบอร์ด ODROID-M1S รุ่นหน่วยความจำขนาด 8GB และพื้นที่เก็บข้อมูลขนาด 64GB มาให้ทำการรีวิว พร้อมด้วยอุปกรณ์เสริมที่ออกแบบมาสำหรับ ODROID-M1S โดยเฉพาะ และบอร์ดก็ส่งถึงมือผม ดังนั้นเรามาแกะกล่องกันดีกว่าครับ แกะกล่องบอร์ด ODROID-M1S พร้อมอุปกรณ์เสริม ในกล่องพัสดุที่ส่งมาจาก Hardkernel ประกอบด้วยกล่องของบอร์ด ODROID-M1S และจอ VU8S ซึ่งเป็นจอพร้อมหน้าจอสัมผัสขนาด 8″ ที่ออกแบบมาเพื่อบอร์ด ODROID-M1S ไ พร้ […]
รีวิว DSOM-020 PX30 Development Board ที่ใช้ Industrial grade CPU แบบพลังงานต่ำ
DSOM-020 PX30 Development Board จากบริษัท Dusun IoT ประกอบด้วย SOM DSOM-020 PX30 สำหรับงาน Industrial ที่เน้นความสเถียรและประหยัดพลังงาน โดยใช้ชิป PX30K จาก Rockchip ซึ่งเป็นหน่วยประมวลผลแบบกินพลังงานต่ำแบบ 64-bit จำนวนสี่คอร์ สถาปัตยกรรมเป็น Arm Cortex-A35 ความเร็วสูงสุดของสัญญาณนาฬิกา 1.3 GHz รองรับระบบปฎิบัติการที่หลากหลาย และยังมาพร้อมกับความสามารถในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอกที่ครบครันตั้งแต่จอภาพ,ไมโครโฟนไปจนถึงการเชื่อมต่อเซ็นเซอร์ต่าง ๆ และ carrier board เรียกรวมกันทั้งหมดเป็น DSOM-020 PX30 Development Board เพื่อให้ทำต้นแบบอุปกรณ์ต่าง ๆ และหากต้องการผลิตเชิงพานิชย์ก็สามารถที่จะซื้อเฉพาะ SOM DSOM-020 PX30 ไปผลิตได้ ซึ่งในเว็บไซต์ของ Dusun IoT เองแนะนำว่า DSOM-020 PX30 นั้นเหมาะกับงานต่างดังนี้ อุปกรณ์ A […]