รีวิว Radxa X4 Kit : บอร์ด SBC ที่ใช้ Intel N100 – ทดสอบประสิทธิภาพและ GPIO บน Ubuntu 24.04 (Part 2)

review Radxa X4 SBC Ubuntu 24.04

หลังจากที่เราได้แกะกล่องและทดสอบ  Radxa X4 Kit เบื้องต้นไปแล้ว ในรีวิวนี้เราจะมาทดสอบประสิทธิภาพในการใช้งาน Radxa X4 Kit บนระบบปฎิบัติการ Ubuntu 24.04 กัน โดยทำการทดสอบมาตรฐานและเปรียบเทียบประสิทธิภาพกับซิงเกิ้ลบอร์ดยอดนิยมอย่าง Raspberry Pi 5 โดยใช้การทดสอบตามหัวข้อดังนี้ การตรวจสอบข้อมูลระบบเบื้องต้น การทดสอบ Benchmark CPU Disk Peripherals Network การทดสอบการใช้งานเว็บและมัลติมีเดียร์ การตรวจสอบการใช้พลังงาน และหลังจากนั้นเรายังจะทดสอบการใช้งานขา GPIO จำนวน 40 ขาที่เชื่อมต่อกับ MCU RP2040 ที่ติดตั้งบนบอร์ดให้เห็นกันว่าถ้าต้องการจะใช้งานจะทำได้อย่างไร ข้อมูลระบบเบื้องต้น

โดยเราทำการติดตั้ง Ubuntu 24.04 ลงไปบน SSD ขนาด 128GB และแรมขนาด 8GB  จากนั้นเราทำการอ่านข้อมูลเพิ่มเติมด้วย […]

รีวิว Radxa X4 Kit : บอร์ด SBC ที่ใช้ Intel N100 – แกะกล่องและติดตั้ง Ubuntu 24.04 (Part 1)

Radxa x4 SBC review

บริษัท Radxa เป็นบริษัทนวัตกรรมที่มุ่งเน้นในด้านซิงเกิ้ลบอร์ด ได้เปิดตัวคอมพิวเตอร์ซิงเกิ้ลบอร์ดที่มีการเลือกใช้โปรเซสเซอร์ Intel N100 แทนที่จะเป็น SOC แบบ Arm และมีไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 รวมอยู่ด้วยบนบอร์ดในชื่อ Radxa X4 ความน่าสนใจคือ Radxa X4 เป็นบอร์ดคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีฟอร์มแฟคเตอร์คล้ายกับบอร์ด Raspberry Pi 5 แต่มีความแตกต่างที่สำคัญ โดย Radxa X4 ใช้โปรเซสเซอร์ Intel “Alder Lake N” N100 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่าและรวมถึงมีการใช้งาน Raspberry Pi RP2040 ไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อใช้งานในการควบคุม GPIO จำนวน 40 พิน นอกจากนี้บอร์ดยังมาพร้อมกับการเชื่อมต่อแบบ M.2 M-key ที่รองรับ PCI Express 3.0 4-lane  และ Wi-Fi 6 ทำให้ Radxa X4 เป็นตัวเลือกที่น่าสนใจสำหรับผู้ที่ต้องการบอร์ดคอมพิวเตอร […]

รีวิว LattePanda Mu : Compute Module x86 ที่ใช้ซีพียู Intel N100 พร้อมทดสอบประสิทธิภาพบน Ubuntu 24.04

LattePanda mu ubuntu benchmark review

หลังจากที่เราได้แกะกล่องและทดสอบ LattePanda Mu พร้อมอุปกรณ์เสริมไปแล้วบน Windows ซึ่งได้ทดสอบการใช้งาน Lite Carrier Board และ Full-Function Evaluation ไปแล้วในรีวิวแกะกล่องและทดสอบการใช้งานบน Windows นั้น ในรีวิวนี้เราจะมาทดสอบใช้งาน LattePanda Mu บนระบบปฎิบัติการ Ubuntu 24.04 กัน โดยทำการทดสอบมาตรฐานเช่นเดียวกันกับบอร์ดอื่น ๆ คือ การตรวจสอบข้อมูลระบบเบื้องต้น การทดสอบ Benchmark CPU Disk Peripherals Network การทดสอบการใช้งานเว็บและมัลติมีเดียร์ การตรวจสอบการใช้พลังงาน และเนื่องจาก LattePanda Mu เป็นสถาปัตยกรรม X64 ทำให้เราสามารถสร้าง boot disk เพื่อทำการติดตั้ง Ubuntu 24.04 ได้เหมือนการติดตั้งทั่วไปเลย โดยหลังจากติดตั้งเสร็จแล้ว เราจะมาตรวจสอบข้อมูลระบบเบื้องต้นกันในหัวข้อด้านล่าง ข้อมูลระบบเบื้องต้น [crayon-67 […]

รีวิวแกะกล่อง LattePanda Mu : Compute Module x86 ที่ใช้ซีพียู Intel N100 พร้อมใช้งานบน Windows 11

LattePanda Mu review

ทางบริษัท DFRobot ได้เปิดตัวบอร์ด LattePanda Mu มาระยะหนึ่งแล้ว โดยความน่าสนใจคือการออกแบบบอร์ดให้เป็น compute module ให้เราสามารถนำไปใช้สร้างสรรค์ carrier บอร์ดของเราเองได้โดยไม่ต้องใช้ความชำนาญมาก โดยบอร์ด LattePanda Mu นั้นจะอยู่ในฟอร์มแฟคเตอร์ SO-DIMM DDR4 และบนตัว LattePanda Mu มี connector สำหรับต่อจอภาพและกล้องติดตั้งมาในตัว ซึ่งทาง DFRobot  ก็ได้ส่งทั้งบอร์ด LattePanda Mu และ carrier board ทั้งสองแบบคือแบบ Lite และแบบ Full function พร้อมกับระบบระบายความร้อนทั้งสองแบบคือแบบ Passive เป็น Heatsink และแบบ Active มีพัดลมระบายความร้อยติดตั้งมาด้วย เรามาชมภาพรวมของบอร์ดและอุปกรณ์เสริมจาก DFRobot กันเลยดีกว่า แกะกล่องบอร์ด LattePanda Mu พร้อมอุปกรณ์เสริม พัสดุแกะออกมาพบกับกล่องทั้งหมด 3 กล่อง เราจะมาแกะกล่องทีล […]

รีวิว AI และ LLM บน Rockchip RK3588 ด้วย Mixtile Blade 3 ซิงเกิ้ลบอร์ดที่มี RAM 32GB

mixtile blade 3 sbc review

Mixtile เป็นบริษัทที่พัฒนาฮาร์ดแวร์โซลูชั่นสำหรับงานหลายๆด้านทั้ง IoT, AI และ Industrial gateway ซึ่งทาง Mixtile ได้ส่งผลิตภัณฑ์ที่ชื่อว่า Mixtile Blade 3 ซึ่งเป็นบอร์ดที่ออกแบบมาน่าสนใจมาก เพราะเป็น RK3588 ที่มี RAM สูงถึง 32 GB และยังมีความน่าสนใจอื่น ๆ อีกที่รอการรีวิว น่าสนใจยังไงมาลองติดตามไปด้วยกัน ตั้งแต่แกะกล่อง ,ทดสอบใช้งาน RKNPU จนถึงลองใช้งาน LLM บน Mixtile Blade 3 นี้กันเลยดีกว่า แกะกล่อง Mixtile Blade 3 ในกล่องพัสดุที่ทาง Mixtile ส่งมาให้ประกอบด้วยกล่องกระดาษสองกล่อง กล่องแรกคือบอร์ด  Mixtile Blade 3 และกล่องที่สองคือ Mixtile Blade 3 Case เรามาแกะกล่องแรกคือบอร์ด Mixtile Blade 3 กันก่อน เมื่อแกะกล่องก็จะพบกับบอร์ดที่ค่อนข้างมีน้ำหนักเลย พอหยิบมาดูก็พบว่าเพราะมีการใส่ Heat sink ขนาดใหญ่เท่ากับบอร์ดไ […]

รีวิว : ODROID-M1S บอร์ด SBC ที่ใช้ Rockchip RK3566 ทดสอบประสิทธิภาพบน Ubuntu

ODROID M1S performance test Review

หลังจากการแกะกล่องทดสอบการทำงานของ ODROID-M1S มากว่า 1 เดือน การทดสอบประสิทธิภาพโดยรวมทั้งหมดก็เสร็จสิ้น โดยการทดสอบทำบน Ubuntu 20.04.6 LTS เนื่องจากในเว็บของ hardkernel เองมี official image ถึงเวอร์ชั่นนี้เท่านั้น ซึ่งจากผลการทดสอบนี้ จะแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในด้านต่าง ๆ ของบอร์ด ODROID-M1S ที่ใช้ Rockchip RK3566 ในทุกด้าน โดยผลการทดสอบจะเป็นอย่างไรมาติดตามผลการทดสอบกันตามหัวข้อด้านล่างกันเลยดีกว่า การทดสอบประสิทธิภาพของ ODROID-M1S มาเริ่มการวัดประสิทธิภาพของ ODROID-M1S ด้วยสคริปต์ Thomas sbc-bench.sh กันเป็นอันดับแรก

จากผลการทดสอบ เมื่อทดสอบ stress จนอุณหภูมิขึ้นไปที่ 59.4 °C ไม่มีการจำกัดความเร็วของสัญญาณนาฬิกา CPU ในห้องที่มีอุณหภูมิแวดล้อมประมาณ 29°C, ในส่วนของแบนด์วิดท์ […]

รีวิว : แกะกล่อง ODROID-M1S บอร์ด SBC ฉลองครบรอบ 15 ปี ที่ใช้ Rockchip RK3566

m1s with UPS kit module

บอร์ด ODROID-M1S ได้ออกแบบมาสำหรับการเฉลิมฉลองวันครบรอบ 15 ปีของ Hardkernel โดยเมื่อเทียบกับบอร์ด SBC ODROID-M1  รุ่นเดิมที่ใช้ CPU Rockchip RK3568 SoC ที่เปิดตัวไปเมื่อปีที่แล้วนั้น บอร์ด ODROID-M1S มีขนาดเล็กกว่า ราคาถูกกว่า โดยเริ่มต้นที่ $49 (~1,700฿) และมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม โดย Hardkernel ได้แจ้งว่าจะส่งบอร์ด ODROID-M1S รุ่นหน่วยความจำขนาด 8GB และพื้นที่เก็บข้อมูลขนาด 64GB มาให้ทำการรีวิว พร้อมด้วยอุปกรณ์เสริมที่ออกแบบมาสำหรับ ODROID-M1S โดยเฉพาะ และบอร์ดก็ส่งถึงมือผม ดังนั้นเรามาแกะกล่องกันดีกว่าครับ แกะกล่องบอร์ด ODROID-M1S พร้อมอุปกรณ์เสริม ในกล่องพัสดุที่ส่งมาจาก Hardkernel ประกอบด้วยกล่องของบอร์ด ODROID-M1S และจอ VU8S ซึ่งเป็นจอพร้อมหน้าจอสัมผัสขนาด 8″  ที่ออกแบบมาเพื่อบอร์ด ODROID-M1S ไ พร้ […]

รีวิว การเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอก ของ Youyeetoo X1

youyeetoo X1 with peripheral device

การใช้งาน Peripherals ต่าง ๆ บนซิงเกิ้ลบอร์ด youyeetoo X1 ที่ใช้ CPU Intel Celeron N5105  ต่างจาก CPU ตระกูล ARM เพราะเราต้องทำการติดตั้งระบบปฎิบัติการเอง ไม่เหมือนการติดตั้งด้วยไฟล์ image แบบที่ทำกับซิงเกิ้ลบอร์ด arm ทั่วไป ซึ่งการติดตั้งระบบปฎิบัติการเองใหม่ทั้งหมด ในการใช้งาน Peripherals  ต่าง ๆ เช่น SPI, I2C หรือ UART อาจจะใช้งานได้ทันทีหรือใช้งานไม่ได้เนื่องจากไม่มี driver ที่สนับสนุน จากรีวิวที่แล้วเราได้ใช้ youyeetoo X1 SBC ซิงเกิ้ลบอร์ด บน Ubuntu ในรีวิวนี้เราจะมาลองทดสอบและหาทางตั้งค่าให้เราสามารถใช้งาน Peripherals  ได้ โดยใช้ข้อมูลจาก wiki ของ  X1 มาเป็นแนวทางในการตั้งค่าและทดสอบการทำงาน GPIO ของ youyeetoo X1 บนบอร์ด youyeetoo X1 นั้นมี GPIO ให้เราสามารถใชังานได้ 5 ชุด โดยอยู่บน connector แบบ JST ขนาด […]

Exit mobile version