M5StickC PLUS2 ชุดพัฒนา IoT ใช้ชิป ESP32-PICO-V3-02 SiP พร้อมแบตเตอรี่ 200 mAh

M5StickC Plus2 IoT development kit

M5Stack M5StickC PLUS2 เป็นชุดพัฒนา IoT ที่ใช้ชิป ESP32 มีแบตเตอรี่พร้อมหน้าจอแสดงผลขนาด 1.14 นิ้ว, ไมโครโฟนในตัว, gyroscope และ accelerometer 6-axis, ปุ่มกด, บัซเซอร์, คอนเนกเตอร์ Grove และ GPIO header สำหรับการขยาย โดยพัฒนาจาก M5StickC Plus ที่เปิดตัวเมื่อกันยายน 2020 แต่เปลี่ยนจาก ESP-PICO-D4 SiP (System-in-a-Package) เป็น ESP32-PICO-V3 -02 และยังใช้ ESP32 WiSoC มี SPI flash 8MB และ flash 2MB และมีแบตเตอรี่ขนาดใหญ่ 200 mAh พร้อมกับชิป CH9102 USB to TTL และไม่มี PMIC คุณสมบัติและข้อมูลสเปคของ M5StickC PLUS2: ESP32-PICO-V3-02 SiP – Espressif Systems ESP32-PICO-V3-02 system-in-package พร้อมโปรเซสเซอร์ IoT ESP32 dual-core Wi-Fi และ Bluetooth ที่ความเร็วสูงสุด 240 MHz, SPI flash 8MB, PSRAM 2MB จอแสดงผล – หน้าจอสี […]

M5Stack เปิดตัวการใช้งานแบบ local server ของการเขียนโปรแกรม UIFlow visual programming Web IDE

Visual programming local Web IDE

ปัจจุบันการเขียนโปรแกรม Visual programming เป็นวิธีที่ได้รับความนิยมมากในการสอนการเขียนโปรแกรมให้กับเด็กๆ และ M5Stack ได้ใช้ UIFlow สำหรับชุดพัฒนา IoT ที่ใช้ ESP32 โดยบริษัท M5Stack มี Web IDE ที่สามารถเข้าถึงได้จากเซิร์ฟเวอร์หรือโปรแกรมเดสก์ท็อปสำหรับ Windows, MacOS หรือ Linux แต่ตอนนี้บริษัทได้เปิดตัวการใช้งานแบบ local server ที่อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้รัน Web IDE ใน local network ของบริษัท local server สามารถใช้งานได้กับ Windows 11 x64, MacOS, Ubuntu 22.04 และ Linux Arm (เช่น Raspberry Pi) ดังนั้นเราจึงดาวน์โหลดเวอร์ชัน Ubuntu เพื่อทดลองใช้บนแล็ปท็อป, เวอร์ชัน Ubuntu นี้เต็มไปด้วย Windows DLLs แต่ตอนนี้เราไม่ต้องสนใจเรื่องนี้ และ README.txt บอกให้เราติดตั้ง dependency และรันโปรแกรมตามนี้: [crayon-673fd4 […]

รีวิว: ชุดหุ่นยนต์เพื่อการศึกษา Makeblock mBot Neo พร้อมชุด Smart World Add-on Pack

makeblock Smart World Robotics Arm

mBot Neo หรือ mBot2 เป็นหุ่นยนต์เพื่อการศึกษาที่ออกแบบมาเป็น Generation 2 จากหุ่นยนต์ mbot1 รุ่นที่ผ่านมาของบริษัท MakeBlock และที่ผ่านมาได้เคยรีวิวชุดหุ่นยนต์ Ultimate 2.0, mBot Neo มาพร้อมกับบอร์ดควบคุม Cyberpi ด้วยการเพิ่มความสามารถในการเชื่อมต่อ WiFi สามารถต่อยอดเทคโนโลยีด้าน IoT และรวมถึง AI ได้  มีเซ็นเซอร์ Ultrasonic รุ่น 2 ที่มีความแม่นยำในการตรวจจับวัตถุที่ดีขึ้นและมีไฟแสดงสถานะ มีเซ็นเซอร์จับเส้นแบบ RGB แบบ 4 ch ที่สามารถตรวจจับสีได้ในตัว มีมอเตอร์ขับเคลื่อนรุ่นใหม่ที่มาพร้อมกับ Encoder เพื่อการควบคุมการเคลื่อนไหวได้แบบแม่นยำมากขึ้น อีกทั้งชุดหุ่นยนต์ mBot Neo สามารถใช้งานร่วมกับชิ้นส่วนโลหะของ Makeblock รุ่นอื่นๆได้ สามารถเพิ่มเติมโมดูล mBuild และโมดูลอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ได้ อีกทั้งยังสามารถต่อยอดชิ้ […]

รีวิว: หุ่นยนต์สุนัขแสนรู้ CM4 XGO-Lite มาพร้อมด้วยแขนกลและปัญญาประดิษฐ์

XGO CM4 Raspberry Pi Robot

หุ่นยนต์สุนัข CM4 XGO-Lite เป็นหุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้การเขียนโปรแกรมโดยในรุ่นนี้มีแขนกลหุ่นยนต์แบบ 3 ข้อต่อ และมือจับหุ่นยนต์ติดตั้งที่บริเวณด้านหลัง สามารถหยิบจับวัตถุที่มีขนาดเบาได้ มีโมดูล Raspberry Pi CM4 บริเวณด้านหน้ามีกล้องและหน้าจอ LCD เพื่อใช้งานการประมวลผลด้าน AI และ Computer Vision มีเซอร์โวมอเตอร์เป็นตัวขับเคลื่อนข้อต่อขาแต่ละข้างโดยมีความสามารถ  Feedback  องศาของมุมกลับมาได้อีกด้วย ทำให้สามารถรับรู้การเคลื่อนไหวรอบทิศทางของตัวหุ่นยนต์ ในหุ่นยนต์ชุดนี้มีเซนเซอร์ตรวจจับความเอียง 6 แกน เพื่อการเดินและการเคลื่อนไหวเป็นไปได้อย่างมั่นคง หุ่นยนต์สุนัข CM4 XGO-Lite รองรับการเขียนโปรแกรมแบบ Blockly, Python และ ROS ได้ด้วย ความสามารถหลักของหุ่นยนต์สุนัข CM4 XGO-Lite เซอร์โวมีฟังก์ชันอ่านค่ามุมได้ทำให้ช่วยใ […]

รีวิว: ชุดหุ่นยนต์ BocoBot ขับเคลื่อนด้วยบอร์ดขยาย Robo Pico กับ Raspberry Pi Pico W

Robo Pico Robot Car

ชุดหุ่นยนต์  BocoBot เป็นชุดหุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้ที่ขับเคลื่อนด้วยบอร์ดขยาย Robo Pico กับ Raspberry Pi Pico W มีวิดีโอในการติดตั้งและโค้ดตัวอย่าง 5 ภารกิจ ไม่ว่าจะเป็นการเคลื่อนที่ไปทิศทางต่างๆ การเคลื่อนที่หลบหลีกสิ่งกีดขวางด้วยเซนเซอร์ Ultrasonic การเคลื่อนที่แบบตรวจจับแสง การเดินตามเส้น และการเคลื่อนที่ด้วย Web Browse ผ่านการเชื่อมต่อแบบ WiFi  และยังสามารถเพิ่มเติมโมดูลต่างๆเข้าไปได้อีกและสร้างสรรค์ผลงานได้ตามจินตนาการอีกด้วย อุปกรณ์ในชุด BocoBot บอร์ดขยาย Robo Pico จำนวน 1 ชิ้น แผงเซนเซอร์ Maker Line จำนวน 1 ชิ้น แผ่นฐานพลาสติก จำนวน 2 แผ่น TT มอเตอร์ 6 โวลต์ จำนวน 2 ชิ้น ล้อหุ่นยนต์ จำนวน 2 ล้อ ตัวยึดมอเตอร์ จำนวน 2 ชิ้น เสารองพลาสติก จำนวน 4 ชิ้น ล้อประคอง จำนวน 1 ชิ้น เซนเซอร์อ่านค่าแสง จำนวน 1 ชิ้น เ […]

Yahboom DOFBOT : หุ่นยนต์แขนกล 6 DoF รองรับ AI Vision โดยใช้ Jetson Nano

Yahboom AI robot arm for Jetson Nano

หุ่นยนต์แขนกลอาจจะมีราคาสูงโดยเฉพาะรุ่นที่รองรับ AI Vision แต่หุ่นยนต์แขนกล Yahboom DOFBOT ที่ออกแบบมาสำหรับ NVIDIA Jetson Nano นั้นเป็นทางเลือกที่ราคาต่ำกว่า โดยหุ่นยนต์แขนกล 6 DoF มีราคาประมาณ $289 (~10,000฿) พร้อม VGA camera, หรือ $481 (~16,000฿) พร้อม Jetson Nano SBC ก่อนหน้านี้เราได้เผยแพร่บทความรีวิวหุ่นยนต์แขนกล myCobot 280 Pi จาก Elephant Robotics และสามารถใช้งานได้ดีโดยใช้ บอร์ด Raspberry Pi 4 เป็นส่วนประกอบหลักในการควบคุมและมีแพคเกจสวยงาม มีราคาเริ่มต้นประมาณ $800 (~27,000฿) ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์เสริม และมีผู้อ่าน 1 รายบ่นว่า “ มีราคาสูงเกินไปสำหรับผู้เริ่มต้น ” หุ่นยนต์แขนกล DOFBOT สามารถสร้างงาน DIY ได้มากกว่า และราคาก็เหมาะสำหรับผู้ที่เริ่มต้นในการเรียนรู้การศึกษาเกี่ยวกับหุ่นยนต์แขนกล ส่วนประกอบและข้ […]

รีวิว แพล็ตฟอร์มเพื่อการศึกษา STEM UniHiker จาก DFRobot

UniHiker DFRobot Review

UniHiker คือแพล็ตฟอร์มเพื่อการศึกษาด้าน STEM จากบริษัท DFRobot ซึ่งเดิมเน้นทำตลาดเฉพาะในประเทศจีนเท่านั้น แต่ตอนนี้ UniHiker  พร้อมจะออกจำหน่ายทั่วโลกแล้ว ดังนั้นเรามาแกะกล่องรีวิวทำความรู้จักแพล็ตฟอร์ม UniHiker กันเลยดีกว่า เริ่มต้นจากบอร์ด UniHiker ซึ่งทำการออกแบบมาให้อยู่ใน form factor เดียวกันกับบอร์ด BBC Micro:bit  ดังนั้นถ้าเรามี expansion บอร์ดของ Micro:bit อยู่แล้วเราสามารถใช้งานร่วมกับบอร์ด UniHiker ได้ทันที งั้นเรามาเริ่มแกะกล่องไปด้วยกันเลยดีกว่า แกะกล่อง UniHiker ชุดบอร์ด UniHiker  ถูกส่งตรงมาจาก DFROBOT ด้วย DHL เมื่อแกะกล่องพัสดุออกเราก็พบกับสีส้มของ DFROBOT ที่คุ้นตา ภายในคือกล่องพลาสติกของ UniHiker  แล้วซึ่งถือมาดีมากเพราะเราสามารถเก็บบอร์ด UniHiker  หลังจากการเรียนหรือใช้งานให้อยู่ในกล่องพลาสติ […]

รีวิว Cytron CM4 Maker Board – Part 2 : ทดสอบ NVMe SSD, RTC, Buzzer, Grove modules, ChatGPT…

Cytron CM4 Maker board Review

ใน Part 1 ได้ตรวจสอบ CM4 Maker Board สำหรับ Raspberry Pi CM4 และบูตด้วยการใส่ “MAKERDISK” microSD card Class A1 ขนาด 32GB ที่มี Raspberry Pi OS ติดตั้งอยู่ล่วงหน้า, สำหรับ Part 2 ของการรีวิว CM4 Maker เราจะใช้ NVMe SSD ขนาด 128GB ของบริษัทที่ให้มา และทดสอบคุณสมบัติอื่น ๆ ของบอร์ดรวมถึง RTC, Buzzer, โมดูล Grove จาก Seeed Studio และเข้า ChatGPT ให้ช่วยเขียนโปรแกรม Python เพื่อนำมาใช้งาน การบูต Cytron CM4 Maker Board ด้วย “MAKERDISK” NVMe SSD เริ่มจากเชื่อมต่อโมดูล Grove หลายตัวด้วยอินเทอร์เฟซ GPIO และ I2C, Raspberry Pi Camera Module 3, สาย Ethernet, RF dongle 2 ตัวสำหรับคีย์บอร์ดและเมาส์ไร้สาย, สาย HDMI เข้ากับจอภาพ และจอมอนิเตอร์ และเสียบปลั๊กอะแดปเตอร์ USB-C 5V/3.5A ที่ให้มา MAKERDISK SSD มาพร้อมกับ Raspberry P […]