โมดูล NiCE5340 ของ Stefano Viola ได้สร้างขึ้นโดยใช้ Nordic Semi nRF5340 Bluetooth SoC, iCE40 FPGA, เซนเซอร์ 11 ตัว, ที่ชาร์จแบตเตอรี่ และอุปกรณ์ต่อพ่วง ทั้งหมดอยู่ในรูปฟอร์มแฟคเตอร์จิ๋วขนาด 29×16 มม., nRF5340 ที่ใช้ในโมดูล (SoM) เป็น SoC แบบ dual-core Arm Cortex-M33 ที่ใช้พลังงานต่ำพร้อมด้วย Bluetooth 5.4, Bluetooth LE (BLE), Thread, Zigbee และ proprietary protocols อื่นๆ ในขณะเดียวกัน Lattice iCE40 FPGA มี 3520 logic cells, 80 Kbits ของ embedded Block RAM, บล็อก I2C และ SPI และคุณสมบัติอื่นๆ อีกมากมายที่ทำให้เหมาะสำหรับการใช้งานเช่น การตรวจสอบสภาพแวดล้อม, การติดตามสุขภาพ และอื่นๆ เราเคยเขียนบทความเกี่ยวกับบอร์ดจิ่ว เช่น Unexpected Maker NANOS3 , TinyS3, FeatherS3 และ ProS3 และบอร์ดพัฒนา ESP32-S3 4G แต่นี่เป็นค […]
PiWings 2.0 – โดรนจิ๋วที่ใช้โมดูล Raspberry Pi Pico และโมดูล WiFi ESP8266
PiWings 2.0 ของ SB Components เป็นโดรนขนาดจิ๋วที่รวม Raspberry Pi Pico กับโมดูล WiFi ESP8266 (ESP-12E) เพื่อการเชื่อมต่อแบบไร้สาย และออกแบบมาสำหรับการศึกษา STEM และผู้ที่ชื่นชอบโดรน บอร์ด PiWings 2.0 รองรับมอเตอร์ได้สูงสุด 6 ตัวและเซอร์โว 4 ตัว มี IMU 6 แกนสำหรับการปรับระดับอัตโนมัติ และมีพอร์ตขยาย I2C, SPI, UART และ GPIO สำหรับการรองรับเซนเซอร์และ/หรือ Actuator แบบกำหนดเอง โดรนมีตัวเลือก 3, 4 หรือ 6 ใบพัด คุณสมบัติและ lgx8ของ PiWings 2.0: บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ – Raspberry Pi Pico พร้อมไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 dual-core Cortex-M0+, SRAM 264KB โมดูลสื่อสารไร้สาย – โมดูล WiFi ESP-12E (ESP8266) สำหรับการรองรับ iBus ไดรเวอร์มอเตอร์ – 6 ช่อง (3A DC) เซอร์โวมอเตอร์ – 4 ช่อง USB – 1x พอร์ต micro USB (บน […]
มินิพีซี Beelink EQ13 ที่ใช้ Intel N200 หรือ N100 พร้อมพาวเวอร์ซัพพลายในตัว
Beelink EQ13 เป็นอีกหนึ่งมินิพีซี Alder Lake-N ที่มีตัวเลือกซีพียูระหว่าง Intel Processor N100 หรือ Processor N200 และมีพาวเวอร์ซัพพลายที่รวมอยู่ภายใน ทำให้พกพาได้ง่าย ผู้ใช้เพียงแค่ต้องพกสายไฟในกระเป๋าพร้อมกับตัวเครื่องเท่านั้น Beelink EQ13 มาพร้อมกับ RAM DDR5 16GB และ SSD NVMe 500GB เป็นการพัฒนาจากรุ่น Beelink EQ12 ที่ใช้ N100 แต่มีการจัดพอร์ตที่แตกต่างกันและการออกแบบให้มีขนาดใหญ่ขึ้นเล็กน้อยเนื่องจากมีพาวเวอร์ซัพพลายภายใน ยังมาพร้อมกับพอร์ต Ethernet 2 ช่อง, HDMI 2.0 คู่, แจ็คเสียง, พอร์ต USB 3.0 Type-A สามพอร์ต และพอร์ต USB-C ที่รองรับ DisplayPort Alt mode นอกจากนี้ยังเพิ่มพอร์ต USB 2.0 อีกหนึ่งพอร์ตที่แผงด้านหลัง สเปคของ Beelink EQ13 (พร้อมเน้นจุดเด่นเป็นตัวหนาและขีดทับที่แตกต่างจาก Beelink EQ12) Alder Lake […]
Orange Pi 3B V2.1 – บอร์ด SBC พร้อมการเชื่อมต่อ WiFi 5 ให้แรงขึ้น, ช่องเสียบ M.2 2280 NVMe/SATA SSD
บริษัท Shenzhen Xunlong Software ได้เปิดตัวบอร์ด Orange Pi 3B V2.1 SBC ที่มีช่องเสียบ M.2 ที่รองรับ 2280 NVMe หรือ SATA SSD และโมดูลไร้สายใหม่ Ampak AP6256 WiFi 5 และ Bluetooth 5 แทนโมดูล CDTech 20U5622 ที่ใช้ Allwinner AW859A ในเวอร์ชั่นแรกของบอร์ด Orange Pi 3B SBC เปิดตัวครั้งแรกในเดือนสิงหาคม 2023 ที่ใช้ Rockchip RK3566 SBC พร้อมฟอร์มแฟคเตอร์ Raspberry Pi 3B และรองรับสตอเรจ M.2 2230 และ 2242 NVMe หรือ SATA ได้รับการปรับปรุงเวอร์ชั่นใหม่ด้วย Orange Pi 5B V2.1 รองรับ M.2 2280 SSD ที่ยาวขึ้น, โดยมีบอร์ดมีขนาดใหญ่กว่าบัตรเครดิตเล็กน้อย (89×56 มม.) และมีการเชื่อมต่อ WiFi 5 ที่แรงขึ้น สเปคของของ Orange Pi 3B V2.1: SoC – Rockchip RK3566 CPU – โปรเซสเซอร์ Quad-core Cortex-A55 @ สูงสุด 1.8 GHz GPU – GPU Mali-G52 2EE […]
ข่าวซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจสำหรับบอร์ด SBC – Armbian 24.5.1, DietPi 9.4 และ Otii server สำหรับ Raspberry Pi 4/5
มีข่าวซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจสำหรับคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยว (SBC) ในช่วงไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมามีการเปิดตัว Armbian 24.5.1 Havier ที่เน้นไปที่ความเสถียรและการปรับปรุงประสบการณ์ผู้ใช้, การเปิดตัว DietPi 9.4 lightweight Debian distrition สำหรับบอร์ด SBC และ Otii server ซอฟต์แวร์สำหรับ Qoitech Arc power supply, meter, และ DAQ ที่ได้ถูกปล่อยออกมาแล้วสำหรับ Raspberry Pi 4/5 Armbian 24.5.1 Havier Armbian ได้ประกาศ เปิดตัวเวอร์ชัน 24.5.1 Havier ในวันที่ 25 พฤษภาคม โดยมีการแก้ไขบั๊กและการปรับปรุงในหลายจุด รวมถึงการรองรับบอร์ดใหม่ๆ ดังนี้ บอร์ดใหม่ Orange Pi 5 Pro FriendlyElec CM3588 NAS board Radxa ROCK 5 ITX Radxa Zero 3E/3W Avaota A1 SBC SK-AM68 board tqma8mpxl board CSC Hinlink H6xk boards Cool Pi CM5 EVB ที่ใช้ ที่ใช้ชิป […]
ชุดคิท DFM8001 indoor energy harvesting โดยเก็บเกี่ยวพลังงานจากแสงอาทิตย์ (และพลังงานจากกลไก, ความร้อน, และคลื่นวิทยุ)
ชุดคิท DFRobot DFM8001 indoor ambient Energy harvesting การเก็บเกี่ยวพลังงานในร่ม สามารถจ่ายพลังงานให้กับอุปกรณ์ IoT โดยการใช้เทคโนโลยีเก็บเกี่ยวพลังงานจากแสงอาทิตย์ และบริษัทอ้างว่าสามารถเก็บเกี่ยวพลังงานจากกลไก, ความร้อน และคลื่นวิทยุจากสภาพแวดล้อมรอบข้างได้ด้วย แต่ไม่สามารถทำได้ถ้าไม่มีฮาร์ดแวร์เพิ่มเติม ชุดคิท DFRobot ประกอบด้วยบอร์ด evaluation board พร้อมโมดูล DFM8001 energy harvesting ของบริษัท, ตัวเก็บประจุแบบ supercapacitors สามารถถอดเปลี่ยนได้สองตัว และแผงโซลาร์เซลล์ที่ใช้เป็นกำลังไฟฟ้าเข้า พร้อมสามารถใช้แหล่งพลังงานอื่นๆ ที่ปล่อยพลังงานอย่างน้อย 150 มิลลิโวลต์ในการเก็บเกี่ยวพลังงานจากคลื่นวิทยุ, ความร้อน, หรือกลไกได้อีกด้วย บอร์ดนี้มีช่องจ่ายไฟสองช่อง ช่องหนึ่งเป็นแรงดันต่ำ (1.2-1.8V) รองรับกระแสไฟได้ […]
รีวิว มินิพีซี GEEKOM A8 (AMD Ryzen 9 8945HS) Part 2 : ทดสอบประสิทธิภาพบน Windows 11 Pro
หลังจากที่เราได้ดูสเปค แกะกล่องใช้งาน มินิพีซี GEEKOM A8 ที่ใช้โปรเซสเซอร์ AMD Ryzen 9 8945HS พร้อม AMD Radeon 780M Graphics, RAM 32GB สูงสุด 64GB, SSD M.2 1TB สูงสุด 2TB, รองรับหน้าจอสูงสุด 8K สามารถแยกหน้าจอสูงสุด 4 จอ ผ่านพอร์ต HDMI 2.0 และพอร์ต USB-C, รองรับระบบเครือข่าย 2.5GbE, WiFi 6E และ Bluetooth 5.3 และมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Windows 11 Pro ในบทความนี้เราจะทำการทดสอบกับระบบปฏิบัติการ Windows 11 Pro โดยเราจะดูภาพรวมซอฟต์แวร์และการทดสอบคุณสมบัติ, ทดสอบประสิทธิภาพ Benchmarks, ระบบเครือข่าย, ระบบระบายความร้อน, เสียงของพัดลม และการใช้พลังงานของมินิพีซีบน Windows 11 Pro ภาพรวมซอฟต์แวร์และการทดสอบคุณสมบัติ เมนู System About แสดงว่าเป็น มินิพีซี GEEKOM A8 ใช้โปรเซสเซอร์ AMD Ryzen 9 8945HS พร้อม Radeon 780M Gr […]
การซ่อมสายอากาศ WiFi ขาดของมินิพีซี
เนื่องจากระหว่าง รีวิวมินิพีซี GEEKOM A8 เราได้แกะเครื่องข้างในเพื่อยืนยันรุ่น SSD และโมดูล WiFi และที่ฝาเคสพลาสติกมีสายอากาศ WiFi 1 เส้นเชื่อมต่ออยู่ และเราไม่ทันได้ระวังและการติดตั้งสายอากาศที่เสี่ยงต่อการทำหลุดได้ง่าย ทำให้สายอากาศที่เชื่อมต่อกับโมดูลหลุดออก 1 เส้น ในวันนี้เราจะทำการซ่อมสายอากาศดังกล่าว โดยเริ่มจากการสั่งซื้อสายอากาศ ครั้งแรกเราได้ซื้อสายอากาศจาก Shopee เป็นรุ่น IPEX1 ซึ่งไม่ถูกต้องกับโมดูลนี้ โดยสายอากาศที่เราสั่งซื้อต้องเป็นรุ่น IPEX4 MHF4 ถึงจะถูกต้อง ผู้อ่านควรดูก่อนว่าโมดูลของตัวเองต้องใช้กับสายอากาศรุ่นอะไร เรามาใส่กันเริ่มจากเอาพลาสติกใสที่อยู่บนโมดูลออก เราทำการใส่สายอากาศ IPEX4 MHF4 Female แล้วใช้ดินสอที่มีหัวยางลบช่วยดัน (สาเหตุที่ใช้ยางลบเพราะยางลบมีความนุ่ม ถ้าใช้อย่างอื่นอาจจะเส […]