รีวิวชุด Raspberry Pi 5 – Part 1: แกะกล่อง การประกอบ และลองใช้งานครั้งแรก

Raspberry Pi 5 Kit Review Raspberry Pi OS boot

ฉันพร้อมที่กับการรีวิว Raspberry Pi 5 ที่บริษัทส่งมาให้เมื่อเดือนที่แล้ว ฉันจะทำการรีวิวโดยใช้ Raspberry Pi OS Bookworm ที่มีพื้นฐานจาก Debian 12 และ “tropical reviews” ของ CNX Software จะเยอะกว่ารีวิวอื่น ๆ เนื่องจากอุณหภูมิสภาพแวดล้อมสูง (ประมาณ 28°C ในห้องของฉัน) ในประเทศไทย บริษัท Raspberry Pi ได้ส่ง Raspberry Pi 5 พร้อมชุดอุปกรณ์ครบครัน พร้อมคีย์บอร์ด เมาส์ กล่องเคส และอื่นๆ อีกมากมาย เราจะเริ่มต้นบทความที่ดูฮาร์ดแวร์แกะกล่อง การประกอบ และลองใช้งานครั้งแรกด้วย Debian 12 บนบอร์ด SBC ใหม่ แกะกล่องชุดคิท Raspberry Pi 5 นอกจากบอร์ด Raspberry Pi 5 แล้ว ในแพ็คเกจยังมีเครื่องทำความเย็น active cooler พร้อมฮีทซิงค์และพัดลมระบายความร้อน, microSD card ที่ติดตั้ง Raspberry Pi OS เวอร์ชั่น Bookworm ไว้พร้อม […]

รีวิว : มินิพีซี GEEKOM A5 ที่ใช้ AMD Ryzen 7 5800H แกะกล่องและลองใช้ (Part 1)

GEEKOM A5 AMD Ryzen 7 5800H

GEEKOM A5 เป็นมินิพีซีที่ใช้โปรเซสเซอร์ AMD Ryzen 7 5800H, หน่วยความจำ RAM สูงสุด 64GB, NVMe/SATA SSD รองรับสูงสุด 2TB, อินเทอร์เฟส เช่นพอร์ต HDMI 2.0, USB Type-C, USB Type-A, 2.5GbE และอื่นๆ,  รองรับ WiFi 6E และ Bluetooth 5.2 และมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Windows 11 Pro บริษัท GEEKOM ได้ส่งมินิพีซี A5 โปรเซสเซอร์ AMD Ryzen 7 5800H พร้อม RAM 32GB, SSD M.2 512GB มาให้ฉันรีวิวในครั้งนี้ Part วันนี้เราจะดูข้อมูลสเปคของมินีพีซีแล้ว,จะเปิดดูแพ็คเกจที่ให้มา, แกะเครื่องดูข้างใน,  และจะลองเปิดเครื่องใช้งานดู  และจะทดสอบประสิทธิภาพบน Windows 11 และ Ubuntu ใน Part ต่อไป สเปค มินิพีซี GEEKOM A5 : SoC – AMD Ryzen 7 5800H processor 8 cores และ 16 threads ความเร็วสูงสุด 4.4 GHz พร้อม cache 16MB, AMD Radeon Vega 8 Graphics, ค่า […]

รีวิวอุปกรณ์เทคโนโลยี Z-Wave – RaZberry 7 Pro และ Z-Uno2

RaZberry 7 Pro & Z Uno2

เมื่อเร็วๆนี้เราได้รับ RaZberry 7 Pro และ Z-Uno2 ซึ่งเป็นอุปกรณ์ Smart Home ที่ใช้ Z-Wave เทคโนโลยีจากบริษัท Z-Wave.Me มาทำการทดสอบ บริษัทนี้สร้างผลิตภัณฑ์บน Z-Wave เทคโนโลยีเป็นหลัก และเป็นสมาชิกของ Z-Wave Alliance สำหรับหลายคนที่ปวดหัวกับปัญหาของคลื่นความถี่ที่ทับซ้อนกันมากมายในย่าน 2.4GHz (Wifi, Zigbee,Thread) เทคโนโลยี Z-Wave เป็นทางเลือกที่ดีมากๆ เพราะใช้คลื่นความถี่ในย่าน 800-900 MHz ที่แออัดน้อยลง นอกเหนือจากนั้นเทคโนโลยี Z-Wave ยังมีมาช้านานกว่า 20 ปี ทำให้มีอุปกรณ์ที่ใช้ Z-Wave มากมายในท้องตลาดและสามารถใช้ร่วมกันข้ามค่ายได้เป็นอย่างดีซึ่งเป็นข้อดีอีกข้อนึงถ้าจะเปรียบเทียบกับโปรโตคอลอื่นๆ อุปกรณ์ที่เราได้รับมีสองชิ้นคือ RaZberry 7 Pro ซึ่งเป็น Shield ที่เสียบลงบน GPIO ของ Raspberry Pi เพื่อทำให้ Raspber […]

รีวิว: ชุดหุ่นยนต์เพื่อการศึกษา Makeblock mBot Neo พร้อมชุด Smart World Add-on Pack

makeblock Smart World Robotics Arm

mBot Neo หรือ mBot2 เป็นหุ่นยนต์เพื่อการศึกษาที่ออกแบบมาเป็น Generation 2 จากหุ่นยนต์ mbot1 รุ่นที่ผ่านมาของบริษัท MakeBlock และที่ผ่านมาได้เคยรีวิวชุดหุ่นยนต์ Ultimate 2.0, mBot Neo มาพร้อมกับบอร์ดควบคุม Cyberpi ด้วยการเพิ่มความสามารถในการเชื่อมต่อ WiFi สามารถต่อยอดเทคโนโลยีด้าน IoT และรวมถึง AI ได้  มีเซ็นเซอร์ Ultrasonic รุ่น 2 ที่มีความแม่นยำในการตรวจจับวัตถุที่ดีขึ้นและมีไฟแสดงสถานะ มีเซ็นเซอร์จับเส้นแบบ RGB แบบ 4 ch ที่สามารถตรวจจับสีได้ในตัว มีมอเตอร์ขับเคลื่อนรุ่นใหม่ที่มาพร้อมกับ Encoder เพื่อการควบคุมการเคลื่อนไหวได้แบบแม่นยำมากขึ้น อีกทั้งชุดหุ่นยนต์ mBot Neo สามารถใช้งานร่วมกับชิ้นส่วนโลหะของ Makeblock รุ่นอื่นๆได้ สามารถเพิ่มเติมโมดูล mBuild และโมดูลอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ได้ อีกทั้งยังสามารถต่อยอดชิ้ […]

รีวิว DSOM-020 PX30 Development Board ที่ใช้ Industrial grade CPU แบบพลังงานต่ำ

DSOM 020 PX30 Development Board zigbee gateway test

DSOM-020 PX30 Development Board จากบริษัท Dusun IoT ประกอบด้วย SOM DSOM-020 PX30 สำหรับงาน Industrial  ที่เน้นความสเถียรและประหยัดพลังงาน โดยใช้ชิป PX30K จาก Rockchip ซึ่งเป็นหน่วยประมวลผลแบบกินพลังงานต่ำแบบ 64-bit จำนวนสี่คอร์ สถาปัตยกรรมเป็น Arm Cortex-A35 ความเร็วสูงสุดของสัญญาณนาฬิกา 1.3 GHz  รองรับระบบปฎิบัติการที่หลากหลาย และยังมาพร้อมกับความสามารถในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอกที่ครบครันตั้งแต่จอภาพ,ไมโครโฟนไปจนถึงการเชื่อมต่อเซ็นเซอร์ต่าง ๆ และ carrier board เรียกรวมกันทั้งหมดเป็น DSOM-020 PX30 Development Board เพื่อให้ทำต้นแบบอุปกรณ์ต่าง ๆ และหากต้องการผลิตเชิงพานิชย์ก็สามารถที่จะซื้อเฉพาะ SOM DSOM-020 PX30 ไปผลิตได้ ซึ่งในเว็บไซต์ของ Dusun IoT เองแนะนำว่า DSOM-020 PX30 นั้นเหมาะกับงานต่างดังนี้ อุปกรณ์ A […]

รีวิว MaTouch ESP32-S3 Rotary IPS Display with Touch 2.1” ST7701

Makerfabs MaTouch ESP32-S3 Rotary

ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับมาทดสอบครั้งนี้เป็นผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ของ Makerfabs มีชื่อเต็ม ๆ ว่า MaTouch ESP32-S3 Rotary IPS Display with Touch 2.1” ST7701 ซึ่งเป็นโมดูลที่ใช้ไมโครคอนโทรเลอร์ ESP32-S3 มาพร้อมกับจอภาพสัมผัสแบบวงกลมขนาด 2.1 นิ้ว โดยหน้าจอนี้เป็นทั้ง rotary encoder และสามารถกดเป็น switch button ได้ในตัว ข้อมูลทั่วไป Controller: ESP32-S3-WROOM-1, PCB Antenna, 16MB Flash, 8MB PSRAM, ESP32-S3-WROOM-1-N16R8 Wireless: Wi-Fi and Bluetooth 5.0 LCD: 2.1 inch High Lightness IPS,65K color LCD Driver: ST7701S FPS: > 70 Resolution: 480×480 LCD interface: RGB 565 Touch Panel: 5 Points Touch, Capacitive Touch Panel Driver: CST8266 USB: USB Type-C native Interface: I2Cx1; UARTx1 (1.25mm 4P Connector) Arduino support: […]

รีวิว ทดสอบเสียงแอมพลิฟายเออร์ไร้สาย Arylic H50 Wireless DAC Stereo Amplifier

Arylic BP50 Wireless DAC Stereo Amplifier

หลังจากที่เราได้รีวิว ทดสอบเสียงพรีแอมพลิฟายเออร์ไร้สาย Arylic BP50 Bluetooth Preamplifier ของ บริษัท RAKOIT ไปแล้ว วันนี้เราจะทำการทดสอบเสียงแอมพลิฟายเออร์ไร้สาย Arylic H50 Wireless DAC Stereo Amplifier ที่เป็นเครื่องเล่นสตรีมเสียงที่มีชิปแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาล๊อกและภาคพาวเวอร์แอมป์ในตัว พร้อมการเชื่อมต่อกับเครือข่ายไร้สายต่างๆ เช่น WiFi, Bluetooth และการเชื่อมต่อแบบใช้สายสัญญาณพอร์ทต่างๆ เช่น Analog RCA Line In, Analog RCA Phono In, Digital Optical In, Subwoofer Out, RJ45 LAN port, HDMI ARC, USB Type-A Host, USB Type-C การใช้งาน H50 เพียงแค่เชื่อมต่อสายสัญญาณเอาท์พุทเข้ากับลำโพงในระบบสเตอริโอ (Passive Speaker) ด้วยกำลังขับข้างละ 50 วัตต์ จะทำให้คุณสามารถสตรีมเพลงจากบริการสตรีมมิ่งผ่านแอปพลิเคชั่น 4STREAM ห […]

รีวิวอุปกรณ์ Matter ใหม่จาก SONOFF – MINI Extreme Wi-Fi Smart Switch (MINIR4M)

SonoffMiniR4M Cover

ในที่สุดเราก็ได้ผลิตภัณฑ์ Matter ตัวแรกของ SONOFF มาลองทดสอบ ซึ่งก็คือรุ่น Mini Extreme Switch (MINIR4M) นั่นเอง โดยรูปลักษณ์ภายนอกใกล้เคียงกับ Mini Extreme Switch Wifi (MiniR4) ซึ่งเป็นรุ่นก่อนหน้า และเราเคยรีวิวไปแล้ว มีแถบสีคาดที่ต่างกันเพื่อให้ดูออกว่าอันไหน WiFi และ อันไหน Matter นั่นเอง ในการทดสอบนี้เราได้ทำกับแพลตฟอร์ม Smart Home หลายๆค่ายที่สนับสนุน Matter เช่น Home Assistant, Apple HomeKit, Google Home รวมถึง eWeLink เอง มาดูกันว่าการทำงานและฟีเจอร์จะต่างกันมากน้อยขนาดไหน อย่างที่หลายคนทราบกันมาบ้าง Matter เป็น control protocol ในขณะที่ Thread เป็น communication protocol ทั้งสอง protocol สามารถใช้งานร่วมกันหรือไม่ก็ได้ Matter สามารถทำงานบน communication protocol ได้หลายหลากไม่ว่าจะเป็น Wifi, Ethernet, […]