รีวิว การใช้งาน SONOFF NSPanel Pro กับโมดูล Zigbee, กล้อง CAM Slim

Sonoff NSPanel Pro Stand Zigbee Sensors Camera

ระบบ Smart Home หรือ บ้านอัจฉริยะ เป็นใช้เทคโนโลยี IoT หรือ Internet of Things มาประยุกต์ใช้ในบ้าน ที่เชื่อมต่อกันระหว่างอินเตอร์เน็ตกับเครื่องใช้ภายในบ้านที่มีอุปกรณ์ฝังตัว และระบบเซ็นเซอร์ โดยควบคุมผ่านการควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้อยู่อาศัยและสร้างความปลอดภัยภายในบ้านด้วย ITEAD ได้ส่งชุดอุปกรณ์สมาร์ทโฮมมาให้เรารีวิวทั้ง แผงควบคุม SONOFF NSPanel Pro, เคสตั้งโต๊ะ, กล้อง CAM Slim WiFi และโมดูล Zigbee 4 ตัว ได้แก่ SNZB-01 Wireless Switch, SNZB-02 Temperature และ Humidity Sensor, SNZB-03 Motion Sensor และ SNZB-04 Wireless Door/Window Sensor ในการรีวิวนี้ เราจะเริ่มจากการแกะกล่องและเริ่มใช้งาน SONOFF NSPanel Pro ตั้งค่าในแอปพลิเคชัน eWelink ใน Android, การเพิ่มอุปกร […]

T-Dongle-S3 : ดองเกิล USB ที่ใช้ MCU ESP32-S3 พร้อมหน้าจอสี

T Dongle S3 ESP32 S3 USB dongle

LilyGO T-Dongle-S3 เป็นดองเกิล USB ที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32-S3 แบบดูอัลคอร์พร้อมการเชื่อมต่อ WiFi 4 และ Bluetooth 5.0, ช่องเสียบ microSD card และหน้าจอแสดงผลสีขนาด 0.96 นิ้วที่เป็นอุปกรณ์เสริม บริษัทได้เคยเปิดตัว T-Dongle ESP32-S2 ไปเมื่อปีที่แล้ว และตอนแรกฉันคิดว่า ESP32-S3 เป็นตัวอัปเดตแต่ T-Dongle-S3 ตัวใหม่มีการออกแบบที่เล็กและกะทัดรัดกว่า คุณสมบัติเหมาะสำหรับการบันทึกข้อมูลและแสดงข้อมูลพื้นฐานผ่านการเชื่อมต่อแบบไร้สายด้วย ข้อมูลจำเพาะของบอร์ดพัฒนา T-Dongle ESP32-S2: Wireless SoC – ระบบ Espressif ESP32-S3 พร้อม ไมโครคอนโทรลเลอร์ Xtensa LX7 แบบดูอัลคอร์ 32 บิตสูงสุด 240MHz RISC-V ULP Co-processor 512KB SRAM 2.4GHz Wifi 4 (802.11b/g/n) บลูทูธ 5.0 BLE + Mesh พื้นที่จัดเก็บ แฟลช 4 MB (หรือแฟลช 16MB อยู่ที่ […]

โฆษณา

Mini Pupper 2 – สุนัขหุ่นยนต์กับ Raspberry Pi 4 / CM4 เพิ่ม ESP32, รองรับ ROS2, servo feedback

Mini Pupper 2

Mini Pupper 2 เป็นรุ่นปรับปรุงของ Mini Pupper หุ่นยนต์สุนัขที่ใช้ Raspberry Pi 4 ที่เปิดตัวไปเมื่อปีที่แล้ว, Mini Pupper 2 รุ่นใหม่นี้ใช้โมดูล Raspberry Pi 4 SBC หรือ CM4 โดยเพิ่ม MCU ESP32 wireless ติดตั้งโปรแกรม Arduino IDE รองรับ ROS2 และ servo feedback (เซอร์โวมีการการป้อนกลับ) มีให้เลือกสองแบบ Mini Pupper 2 เซอร์โว มีการป้อนกลับของตำแหน่ง, Mini Pupper 2 Pro servo เซอร์โว มีการป้อนกลับของตำแหน่ง ความเร็ว และแรงบิด การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ทั้งสองรุ่นจะเหมือนกัน ได้แก่ การเพิ่ม IMU, ไมโครโฟนและลำโพง, เซ็นเซอร์สัมผัส, รองรับการปรับเทียบอัตโนมัติ และแอปมือถือใหม่สำหรับการควบคุม สเปคของ Mini Pupper 2 : โมดูล CPU – Raspberry Pi 4 SBC หรือ Raspberry Pi CM4 บนโมดูล MCU – ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 WiFi และ Bluetooth แบบ d […]

Home Assistant เปิดตัว SkyConnect USB stick พร้อม Zigbee, Thread, Matter

Home Assistant SkyConnect

Home Assistant SkyConnect เป็น USB stick หรือแท่ง USB ที่รองรับการเชื่อมต่อ Zigbee, Matter และ Thread ที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานร่วมกับ Home Assistant แบบโอเพ่นซอร์ส และช่วยให้ผู้ใช้สามารถนำฟังก์ชัน Home Assistant Yellow (ก่อนหน้านี้เรียกว่า Home Assistant Amber) ไปใช้กับแพลตฟอร์มอื่นที่ใช้ Home Assistant USB dongle ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ไร้สาย Silicon Labs EFR32MG21 Gecko Series 2 Arm Cortex-M33 พร้อมวิทยุ 2.4 GHz แบบหลายโปรโตคอล 802.15.4 ที่สามารถเรียกใช้ทั้ง Zigbee 3.0 (EmberZNet/EZSP) และ Thread/Matter (OpenThread/Spinel ) ผ่านโหมด RCP RCP (ตัวประมวลผลร่วมวิทยุ) โดยใช้เฟิร์มแวร์สำหรับสแต็ก/โปรโตคอลพร้อมกัน ข้อมูลสเปคของ Home Assistant SkyConnect: MCU – ไมโครคอนโทรลเลอร์ Silabs EFR32MG21 Arm Cortex-M33 ที่ความเร็ว […]

Weather Station API ด้วยบอร์ด Maker Pi Pico Mini แสดงผลกับจอ SparkFun SerLCD

รีวิว Maker Pi Pico w กับ Sparkfun SerLcd

Maker Pi Pico Mini ของ Cytron มาพร้อมกับหน่วยประมวลผลบอร์ด Raspberry Pi Pico / Raspberry Pi Pico W มีความสามารถเหมือนกับบอร์ดรุ่นพี่ Maker Pi Pico อย่างไฟ LED แสดงสถานะการทำงานของ GPIO, WS2812B Neopixel RGB LED, passive piezo buzzer, ปุ่มกดที่สามารถโปรแกรมการทำงานได้และปุ่ม reset ตัวบอร์ด ฉันต้องขอขอบคุณ บริษัท Cytron ที่ส่งบอร์ด Maker Pi Pico Mini ที่มาพร้อมจอ LCD RGB และ แบตเตอรี่ Lithium Polymer 3.7V ในบทความนี้เราแสดงสภาพภูมิอากาศจากทั่วโลกกับบอร์ด Maker Pi Pico โดยเราจะเขียนด้วยภาษา C/C++ (Arduino IDE) ก่อนอื่นเราจะมาแนะนำอุปกรณ์กันก่อนนะครับ บอร์ด Maker Pi Pico Mini Raspberry Pi Pico Mini เป็นเวอร์ชั่นใหม่ที่สามารถเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สายได้ โดยมีการบัดกรีเพิ่มวงจรให้ใช้งานได้ง่ายมากขึ้น โดยมีไฟ RGB 1 ดวง […]

Tuya “T6E” เป็นแผงควบคุมอัจฉริยะ หน้าจอสัมผัสบนระบบ Android ขนาด 4 นิ้วและ Zigbee เกตเวย์ สำหรับ OEM

Tuya T6E 4 inch smart home controller

Tuya T6E เป็นแผงควบคุมอัจฉริยะพร้อมหน้าจอสัมผัส ขนาด 4 นิ้วที่ทำงานบนระบบ Android 8.1. ใช้โปรเซสเซอร์ Rockchip PX30 รองรับการเชื่อมต่อ WiFi, Bluetooth และ Zigbee และได้รับการออกแบบมาสำหรับระบบอัตโนมัติภายในบ้านแบบติดผนัง และแอปพลิเคชัน HMI อื่นๆ มันดูค่อนข้างคล้ายกับ ITEAD NSPanel Pro ที่เปิดตัวเมื่อเดือนที่แล้ว สำหรับ “Central Control System” (CSS) ของ Tuya นั้นดูเหมือนว่าจะได้รับการออกแบบมาสำหรับ OEM ที่ต้องการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ของตัวเองด้วยเฟิร์มแวร์แบบกำหนดเอง ( OEM คือ Origianl Equipment Manufacturer หรือ ผู้รับจ้างผลิตสินค้าให้กับบริษัทที่จะไปขายในแบรนด์ของตัวเอง) ข้อมูลสเปคของ Tuya T6E (รายละเอียดแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับข้อกำหนดของ OEM): SoC – โปรเซสเซอร์ Rockchip PX30 แบบ Quad-core Arm Cortex-A35 ที่ […]

โฆษณา

LILYGO T-RGB หน้าจอสี แบบสัมผัส ทรงกลมใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32-S3R8

LILYGO T RGB

LILYGO T-RGB เป็นหน้าจอสี แบบสัมผัส ทรงกลม แบบ wireless ขนาด 2.1 นิ้ว ที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 แบบ dual-core  พร้อมการเชื่อมต่อ WiFi 4 และ Bluetooth 5.0, PSRAM 8MB และที่เก็บข้อมูลแฟลช 16MB อุปกรณ์ยังมีช่องเสียบการ์ด microSD สำหรับการจัดเก็บข้อมูลและขั้วต่อ Grove I2C สำหรับการขยายและรองรับพลังงานแบตเตอรี่ LiPo บริษัทยังบอกด้วยว่าสามารถชาร์จผ่าน USB ได้ ดังนั้นบอร์ดจะต้องมีวงจรการชาร์จแบตเตอรี่ซึ่งต่างจากบอร์ดอื่นๆ ของ LILYGO สเปคของ LILYGO T-RGB SoC – Espressif ESP32-S3R8 dual-core Tensilica LX7 microcontroller สูงถึง 240 MHz พร้อม ชุชุดคำสั่ง vector instructions (AI Acceleration Support) เพื่อช่วยเพิ่มความสามารถในการประมวลผลทางด้าน AI,  8MB PSRAM, WiFi 4 และ Bluetooth 5.0 LE + การเชื่อมต่อแบบ Mesh ท […]

รีวิว Khadas VIM1S : แนะนำการติดตั้ง Android 11 (Part 1)

รีวิว-Khadas-VIM1S -Android-1

วันนี้จะขอแนะนำบอร์ด Khadas VIM1S แบบเร่งด่วนนะครับ เนื่องจากดองงานมานาน สำหรับท่านที่เคยสัมผัสและใช้งาน Raspberry Pi / Asus Tinker Board /Orange Pi / Banana Pi กันมาก่อน Khadas คืออีกบอร์ดที่เป็น Linux Embedded ที่สามารถเลือกใช้ OS ได้หลากหลาย เช่น Ubuntu หรือ Android ได้ง่ายๆผ่านการติดตั้งที่ง่ายดายมากเพราะบอร์ดได้ทำ MaskROM Mode ไว้ให้เลือกเรียบร้อย แถมยังอัพเดทเวอร์ชั่นตามผู้ผลิตได้โดยตรง บอร์ดที่เห็นมีขนาดเล็กกว่า Raspberry Pi เล็กน้อย และตำแหน่งพอร์ตต่างๆจะอยู่ฝั่งตรงข้ามกับขาใช้งาน GPIO การใช้งานปุ่มต่างๆ-ปุ่มกดที่บอร์ดให้มามี 3 ปุ่มตามนี้ Power (P),Function(F),Reset(R) P = สำหรับเปิด/ปิดบอร์ด โดยในระบบ Android จะถูกตั้งค่าไว้เป็น Sleep สามารถกดเพื่อหยุดการทำงานชั่วคราวได้และกดอีกครั้งก็จะตื่นขึ้นมาทำงาน […]

โฆษณา