บอร์ด RPGA Feather ของ Oak Development Technologies ได้รวมไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 เข้ากับ iCE5LP4K FPGA ของ Lattice Semiconductor ลงในบอร์ดพัฒนาขนาดเล็กฟอร์มแฟคเตอร์ Adafruit Feather iCE5LP4K FPGA เป็นชิปที่ใช้พลังงานต่ำ (ultra-low-power) ในตระกูลผลิตภัณฑ์ iCE40 Ultra ที่ออกแบบมาสำหรับแอปพลิเคชันบนมือถือ เช่น สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และอุปกรณ์พกพา ส่วนไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 ทำให้การเขียนโปรแกรมด้วย CircuitPython บน FPGA ง่ายขึ้น ก่อนหน้านี้เราจะได้เห็นผลิตภัณฑ์ของ Oak Development Technologies ที่ใช้ฟอร์มแฟคเตอร์ Adafruit Feather เช่น บอร์ด IcyBlue (ที่ใช้ก iCE5LP4K FPGA) และ Lattice FeatherWing สเปคของ RPGA Feather: MCU – ไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 dual-core Cortex-M0+ @ 133 […]
Raspberry Pi Holdings Plc เปิดตัวในตลาดหลักทรัพย์ลอนดอน
คุณอาจจะพบกราฟหุ้นของบอร์ด Raspberry Pi เนื่องจากตอนนี้ Raspberry Pi Holdings Plc เป็นบริษัทมหาชนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ลอนดอน (LSE) ภายใชื่อย่อหุ้น RPI Raspberry Pi Foundation ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2008 ในฐานะองค์กรไม่หวังผลกำไรโดยมี Eben และ Liz Upton (และคนอื่นๆ) เสี่ยงผลิตบอร์ด Raspberry Pi model B สองถึงสามพันชิ้น ในราคา $35(~1,300฿)ต่อชิ้น สำหรับการเปิดตัวในเดือนกุมภาพันธ์ 2012 แต่สิ่งต่าง ๆ กลับเกินความคาดหมาย และความสำเร็จที่ไม่คาดคิดของบอร์ดทำให้ต้องมีการจัดตั้ง Raspberry Pi Trading (จากนั้นเปลี่ยนเป็น Raspberry Pi Limited) ซึ่งเป็นบริษัทที่หวังผลกำไรเพื่อจัดการการขายและส่งมอบผลกำไรมากที่สุดให้กับองค์กรที่ไม่หวังผลกำไร หลังจากที่ขายบอร์ด Raspberry Pi ไปแล้วกว่า 60 ล้านชิ้น, Raspberry Pi Limited จะไม่ […]
เคส Argon ONE V3 M.2 NVMe ที่ย้ายพอร์ตทั้งหมดของ Raspberry Pi 5 มาไว้ด้านเดียวกันพร้อมพอร์ต HDMI แบแ full-size
เคส Argon ONE V3 M.2 NVMe สำหรับ Raspberry Pi 5 เป็นรุ่นอัพเดตของเคส Argon ONE M.2 สำหรับ Raspberry Pi 4 ที่นำพอร์ตทั้งหมดของ Raspberry Pi 5 มาไว้ด้านเดียวกันและมีพอร์ต full-size HDMI แทน ของพอร์ต micro HDMI บน Pi 5 SBC เราเพิ่งเขียนบทความอเกี่ยวกับบอร์ด Pi5 Connector Adapter ของ Waveshare ที่เชื่อมต่อกับพอร์ต micro HDMI และ USB-C ของ Raspberry Pi 5 ที่นำมาไว้ด้านเดียวกัน และยังมีพอร์ต full-size HDMI สองพอร์ต มันเป็นไอเดียที่ดีแต่ไม่มีเคสใส่, Argon ONE M.2 NVMe ทำสิ่งที่คล้ายกันแต่มาพร้อมเคสและรองรับไดรฟ์ NVMe SSD คุณสมบัติของเคส Argon ONE V3 M.2 NVMe: บอร์ดSBC – เข้ากันได้กับ Raspberry Pi 5 อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล – M.2 NVMe SSD ผ่านช่อง Key-M socket ที่เชื่อมต่อกับคอนเนกเตอร์ PCIe ของ Raspberry Pi 5, มีฮีตซิงก […]
อะแดปเตอร์ Dual Micro HDMI to HDMI รองรับ Raspberry Pi 5/4B และมีตัวเลือกการจ่ายไฟ
Pi5 Connector Adapter ของ Waveshare เป็นอะแดปเตอร์ dual Micro HDMI to HDMI ขนาดเล็กสำหรับ Raspberry Pi 5 หรือ Pi 4B ที่เชื่อมต่อกับพอร์ต micro HDMI และ USB-C พร้อมกันและให้การเข้าถึงพอร์ต HDMI full-size สองพอร์ต, แล้วยังออกแบบ PCB ให้มีพอร์ต USB-C และคอนเกนเตอร์ screw terminal สำหรับกำลังไฟฟ้าเข้า ก่อนหน้านี้เราได้เขียนบทความเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของ waveshare ที่น่าสนใจหลายตัวเช่น Waveshare 2-CH CAN MiniPCIe, Waveshare UGV Rover , บอร์ด Waveshare ESP32-C6-Pico และ Pico-M และอื่นๆ, Waveshare Pi5 Connector Adapter เป็นอีกหนึ่งผลิตภัณ์ที่น่าสนใจ สเปคของ Waveshare Micro HDMI to HDMI adapter รองรับ Pi – Raspberry Pi 5 / Pi 4B อินเทอร์เฟสการแสดงผล 2x อินพุต micro-HDMI 2x เอาต์พุต HDMI อื่นๆ – 2x คอนเนกเตอร์ UART […]
ThingPulse Pendrive S3 : บอร์ดพัฒนา ESP32-S3 ในรูปแบบ USB stick มาพร้อมกับสตอเรจ 128MB และปุ่ม capacitive แบบสปริง
Pendrive S3 เป็นบอร์ดพัฒนา ESP32-S3 ในรูปแบบ USB stick พร้อมหน่วยความจำแฟลช 128MB และปุ่มสัมผัส capacitive แบบสปริง ที่ใช้โมดูล Espressif ESP32-S3-MINI-1 บนบอร์ดกับ Xtensa dual-core 32-bit LX7 microprocessor พร้อมรองรับ Wi-Fi 2.4GHz และ Bluetooth 5 (พลังงานต่ำ) อุปกรณ์นี้มีปุ่มสัมผัสแบบ capacitive ที่สามารถใช้เพื่อกระตุ้นการทำงานโดยการสัมผัสที่ตัวเครื่อง ปุ่ม capacitive ที่ด้านนอกของอุปกรณ์ ซึ่งช่วยให้อุปกรณ์มีลักษณะแบบ low profile คุณอาจสนใจบทความของ Dani Eichhorn เกี่ยวกับแนวคิดในการใช้สปริงสำหรับปุ่มสัมผัส capacitive Pendrive S3 stick สามารถใช้เป็นอุปกรณ์ BadUSB สำหรับการแฮ็กและการทดสอบเจาะระบบ ด้วย SuperWiFiDuck อุปกรณ์ สามารถทำการโจมตีแบบ keystroke injection ได้ สคริปต์ทั้งหมดสามารถจัดการและควบคุมได้แบบไร้ […]
รีวิว SONOFF Zigbee Bridge Ultra และ Micro Zigbee USB Smart Adaptor พร้อมใช้งานร่วมกับ eWeLink และ Home Assistant
วันนี้มารีวิวอุปกรณ์ Zigbee ตัวล่าสุดจาก SONOFF กันอีกแล้ว ดูเหมือนกลยุทธ์จาก SONOFF จากปูพรมด้วยอุปกรณ์ Zigbee ที่หลากหลายแบบมากในช่วงครึ่งปีแรกนี้ เราจะทำการรีวิว SONOFF Zigbee Bridge Ultra (ZBBridge-U) ซึ่งเป็น Zigbee Bridge ที่เราเชื่อว่ามันน่าจะมาแทน Zigbee Bridge (2020) และ Zigbee Bridge Pro (2022) ในที่สุด และมากกว่านั้นคือมันไม่ใช่แค่ Zigbee Bridge ธรรมดาแต่ยังมาพร้อมกับฟีเจอร์อื่นๆด้วย เช่น Matter Bridge นอกจากนั้นตัวถัดไปที่เราจะทำการรีวิวคือ SONOFF Micro Zigbee USB Adapter ซึ่งจะมาเป็นทางเลือกสำหรับท่านที่ชอบ form factor แบบ USB นี้แต่ใช้โปรโตคอล Zigbee เรามาดูในรายละเอียดกันในแต่ละตัวกัน SONOFF Zigbee Bridge “Ultra” เราขอเรียก SONOFF Zigbee Bridge “Ultra” สั้นๆว่า Ultra ในรีว […]
รีวิว มินิพีซี GEEKOM A8 (AMD Ryzen 9 8945HS) – Part 3 : ทดสอบประสิทธิภาพบน Ubuntu 24.04 Linux
เราได้ดูสเปค แกะกล่องและลองใช้งาน และทดสอบประสิทธิภาพบน Windows 11 ของ มินิพีซี GEEKOM A8 ที่ใช้โปรเซสเซอร์ AMD Ryzen 9 8945HS พร้อม AMD Radeon 780M Graphics, RAM 32GB สูงสุด 64GB, SSD M.2 1TB สูงสุด 2TB, รองรับหน้าจอสูงสุด 8K สามารถแยกหน้าจอสูงสุด 4 จอ ผ่านพอร์ต HDMI 2.0 และพอร์ต USB-C, รองรับระบบเครือข่าย 2.5GbE, WiFi 6E และ Bluetooth 5.3 และมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Windows 11 Pro ในบทความนี้เราจะทำการทดสอบกับระบบปฏิบัติการ Ubuntu 24.04 Linux โดยเราจะดูภาพรวมซอฟต์แวร์และการทดสอบคุณสมบัติ, ทดสอบประสิทธิภาพ Benchmarks, การทดสอบประสิทธิภาพของที่เก็บข้อมูล (SSD และพอร์ต USB), ทดสอบประสิทธิภาพของระบบเครือข่าย, การทดสอบ Stress test และอุณหภูมิ CPU, เสียงของพัดลม และการใช้พลังงานของมินิพีซี ติดตั้ง Ubuntu 24.04 เราล […]
รีวิวแกะกล่อง LattePanda Mu : Compute Module x86 ที่ใช้ซีพียู Intel N100 พร้อมใช้งานบน Windows 11
ทางบริษัท DFRobot ได้เปิดตัวบอร์ด LattePanda Mu มาระยะหนึ่งแล้ว โดยความน่าสนใจคือการออกแบบบอร์ดให้เป็น compute module ให้เราสามารถนำไปใช้สร้างสรรค์ carrier บอร์ดของเราเองได้โดยไม่ต้องใช้ความชำนาญมาก โดยบอร์ด LattePanda Mu นั้นจะอยู่ในฟอร์มแฟคเตอร์ SO-DIMM DDR4 และบนตัว LattePanda Mu มี connector สำหรับต่อจอภาพและกล้องติดตั้งมาในตัว ซึ่งทาง DFRobot ก็ได้ส่งทั้งบอร์ด LattePanda Mu และ carrier board ทั้งสองแบบคือแบบ Lite และแบบ Full function พร้อมกับระบบระบายความร้อนทั้งสองแบบคือแบบ Passive เป็น Heatsink และแบบ Active มีพัดลมระบายความร้อยติดตั้งมาด้วย เรามาชมภาพรวมของบอร์ดและอุปกรณ์เสริมจาก DFRobot กันเลยดีกว่า แกะกล่องบอร์ด LattePanda Mu พร้อมอุปกรณ์เสริม พัสดุแกะออกมาพบกับกล่องทั้งหมด 3 กล่อง เราจะมาแกะกล่องทีล […]