Tokay Lite – กล้อง AI ใช้ ESP32-S3 WiSoC พร้อมแบตเตอรีและไม่ต้องเขียนโค้ด

Tokay Lite ESP32-S3 no code AI camera

Tokay Lite ของ Maxlab เป็นกล้อง AI ที่ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน OHSWA และใช้ ESP32-S3 รองรับ Wi-Fi และ Bluetooth ซึ่งสามารถนำไปใช้งานด้าน computer vision (เช่น การจดจำและการตรวจจับใบหน้า) และการเรียนรู้ด้านหุ่นยนต์ โดยไม่จำเป็นต้องรู้ภาษาในการเขียนโปรแกรมเนื่องจากมีการใช้sหน้าเว็บสำหรับการกำหนดค่า กล้อง AI ที่รองรับ Wi-Fi และ Bluetooth นี้ยังมีคุณสมบัติการมองเห็นตอนกลางคืนด้วยไฟ IR LED 4 ดวง, IR cut filter, มีเซ็นเซอร์แสงและเซ็นเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหวแบบ PIR, คอนเนกเตอร์ขยาย 20-pin พร้อม SPI และ UART, รองรับ RTC ภายนอก และสามารถใช้พลังงานจาก USB- C หรือแบตเตอรี่ LiPo สเปค Tokay Lite: Wireless module ESP32-S3-WROOM-1 MCU –  ไมโครโปรเซสเซอร์ ESP32-S3 dual-core LX7  @ สูงสุด 240 MHz พร้อมVector extension สำหรับ […]

รีวิว mmWave Human Detection Sensor Kit : แกะกล่อง ลองใช้ด้วย ESPHome และ Home Assistant (Part 1)

Seeed Studio mmWave Human Detection Sensor Kit

mmWave Human Detection Sensor Kit ของ Seeed Studio ออกมาสักพักหนึ่งแล้ว คิดจะหามาลองอยู่เพราะเทคโนโลยี mmWave radar ดูแล้วมีศักยภาพที่น่าจะเอามาใช้กับงานวิจัยด้าน smart home ได้ พอดีเจอประกาศของ CNX Software อยากหาคนมารีวิวตัวผลิตภัณฑ์ให้หน่อย เลยถือโอกาสสมัครมาลองเขียนรีวิวและขอตัดบทแบบรวดเร็วด้วย DHL กล่องอุปกรณ์ก็ส่งมาถึงที่ทำงานอย่างปลอดภัย เมื่อเปิดกล่อง ก็เจอกล่องของ mmWave Human Detection Sensor Kit มาพร้อมกับบอร์ดเสริมคือ MR60FDA1 60GHz mmWave Sensor – Fall Detection Module Pro ซึ่งจะใช้คลื่นความถี่ในย่าน 60 GHz ในขณะที่ บอร์ด mmWave Radar ที่มาในชุดจะเป็น MR24HPC1 24GHz mmWave Sensor – Human Static Presence Module Lite  ตัวโมดูล mmWave sensor ในชุด sensor kit จะใช้คลื่นความถี่ในย่าน 24 GHz […]

รีวิว การเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอก ของ Youyeetoo X1

youyeetoo X1 with peripheral device

การใช้งาน Peripherals ต่าง ๆ บนซิงเกิ้ลบอร์ด youyeetoo X1 ที่ใช้ CPU Intel Celeron N5105  ต่างจาก CPU ตระกูล ARM เพราะเราต้องทำการติดตั้งระบบปฎิบัติการเอง ไม่เหมือนการติดตั้งด้วยไฟล์ image แบบที่ทำกับซิงเกิ้ลบอร์ด arm ทั่วไป ซึ่งการติดตั้งระบบปฎิบัติการเองใหม่ทั้งหมด ในการใช้งาน Peripherals  ต่าง ๆ เช่น SPI, I2C หรือ UART อาจจะใช้งานได้ทันทีหรือใช้งานไม่ได้เนื่องจากไม่มี driver ที่สนับสนุน จากรีวิวที่แล้วเราได้ใช้ youyeetoo X1 SBC ซิงเกิ้ลบอร์ด บน Ubuntu ในรีวิวนี้เราจะมาลองทดสอบและหาทางตั้งค่าให้เราสามารถใช้งาน Peripherals  ได้ โดยใช้ข้อมูลจาก wiki ของ  X1 มาเป็นแนวทางในการตั้งค่าและทดสอบการทำงาน GPIO ของ youyeetoo X1 บนบอร์ด youyeetoo X1 นั้นมี GPIO ให้เราสามารถใชังานได้ 5 ชุด โดยอยู่บน connector แบบ JST ขนาด […]

SaraKIT – บอร์ดฐาน Raspberry Pi CM4 พร้อมการควบคุมด้วยเสียงที่ใช้ ChatGPT, การควบคุมมอเตอร์ และเซ็นเซอร์

Raspberry Pi CM4 ChatGPT board

SaraKIT เป็นบอร์ดฐาน (carrier board) สำหรับโมดูล Raspberry Pi CM4 ที่มีตัวควบคุมมอเตอร์ BLDC และเซนเซอร์ต่างๆ สำหรับหุ่นยนต์ รองรับการควบคุมด้วยเสียงที่ใช้ ChatGPT ผ่านไมโครโฟน 3 ตัวและชิปเสียง ZL38063 และคอนเนกเตอร์  MIPI CSI จำนวน 2 ตัวสำหรับกล้อง บอร์ดที่มีคุณสมบัติหลายหลายนี้สามารถนำมาใช้กับผลิตภัณฑ์ที่ควบคุมด้วยเสียง, หุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติภายในบ้าน และการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์สมาร์ทโฮมหรือสำนักงาน บริษัทยังได้มีสาธิตต่างๆ เช่น รถ LEGO RC ที่ควบคุมด้วยสมาร์ทโฟน, หุ่นยนต์ LEGO แบบ self-balancing robot, กล้อง pan-and-tilt camera, การสาธิต AI โดยใช้ MediaPipe เช่น การติดตามใบหน้าและการตรวจจับวัตถุ รวมถึงการสาธิตเสียงโดยใช้ ChatGPT, Alexa และ/หรือ Google Home สเปค SaraKIT: รองรับ system-on-modules – Raspberry Pi […]

รีวิว AirGradient ONE : อุปกรณ์สำหรับการตรวจวัดคุณภาพอากาศภายในอาคาร

airgradient one ready to work

AirGradient ONE เป็นผลิตภัณฑ์ของ AirGradient Co. Ltd. ซึ่งเป็นอุปกรณ์สำหรับการตรวจวัดคุณภาพอากาศภายในอาคาร นอกจากจะสามารถวัดค่าอุณหภูมิและความชื้นของอากาศแล้วก็ยังมีความสามารถในการวัดค่าอื่น ๆ ได้อีกหลายค่า เช่น CO2, TVOC, NOx และ PM เป็นต้น ซึ่ง AirGradient ONE รุ่นที่รีวิวนี้เป็นรุ่นล่าสุด (9-th generation) ผู้ผลิตปรับให้เป็น open-source แล้ว มีทั้ง source code และ Schematic/PCB ให้เราดาวน์โหลดไปศึกษาและพัฒนาต่อเองได้ รวมถึงมีไฟล์โมเดลสามมิติของตัวกล่องใส่อุปกรณ์ซึ่งสามารถนำไปพิมพ์สามมิติได้เอง เปิดกล่อง เวอร์ชันที่ได้รับมาทดสอบครั้งนี้เป็นแบบชุดคิท (kit) ซึ่งจะต้องมีการประกอบอุปกรณ์เองบางส่วน อุปกรณ์ทั้งหมดถูกบรรจุมาในกล่องกระดาษลูกฟูก มีการ์ดข้อความขอบคุณจากผู้ผลิตซึ่งมี QR-code ไปยังเว็บไซต์ที่แสดงละเอียดก […]

กิจกรรม Giveaway Week 2023 – แจกฟรี WisBlock IoT Starter Kit รองรับ LoRaWAN และการเชื่อมต่อ LTE-M/NB-IoT

WisBlock IoT Development Kit Giveaway 2023

RAKwireless ได้เข้าร่วมกิจกรรม CNX Software Giveaway Week เป็นปีที่ 3 แล้วโดยปีนี้บริษัทได้มอบ WisBlock IoT Starter Kit พร้อมรองรับ LoRaWAN และ LTE-M/NB-IoT โดยก่อนหน้านี้ได้มอบ WisBlock Kit 2 LoRa-based GPS Tracker พร้อม Solar Panel ในปี 2021 และ RAK Developer Kit (Air Quality Kit) ในปี 2022 ชุดคิท WisBlock IoT Starter Kit ช่วยให้สามารถสร้างต้นแบบด้วยการเชื่อมต่อ LoRaWAN และ cellular IoT รวมถึงโมดูลแสดงผล (OLED และ RGB) และ เซนเซอร์ต่าง ๆ เช่น เซนเซอร์วัดความเร่ง (accelerometers), เซนเซอร์แสง, เซนเซอร์ VOC, เซนเซอร์วัดความชื้นสัมพัทธ์และอุณหภูมิอากาศ และอื่นๆ WisBlock IoT Starter Kit ประกอบด้วย: 1x RAK4631 WisBlock Core module SoC – Nordic nRF52840  Arm Cortex-M4F microcontroller @ 64 MHz พร้อม 1 MB Flash, 256 […]

RAKwireless Blues.ONE ชุดพัฒนา IoT รองรับการเชื่อมต่อ LoRaWAN, LTE-M และ NB-IoT พร้อม Blues NoteCard

Blues.ONE LTE M NB IoT devkit

RAKwireless Blues.ONE เป็นชุดพัฒนา IoT รองรับการเชื่อมต่อ LoRaWAN และรองรับการเชื่อมต่อเซลลูล่าร์แบบ LTE-M และ NB-IoT ผ่าน Blues NoteCard พร้อม Data package  500 MB. สามารถใช้งานได้นานถึง 10 ปี ชุดพัฒนาใช้ระบบต้นแบบ WisBlock modular IoT พร้อมด้วย RAK13102 WisBlock Blues Notecarrier, Blues NoteCard, บอร์ดฐาน WisBlock และโมดูล WisBlock Core สามารถใช้เพื่อสร้างต้นแบบหรือพัฒนาอุปกรณ์ IoT สำหรับระบบอัตโนมัติทางอุตสาหกรรมและการติดตามตำแหน่งอุปกรณ์ (asset-tracking) สเปค Blues.ONE: RAK4631 WisBlock Core Module SoC – Nordic nRF52840 ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arm Cortex-M4F @ 64 MHz พร้อม Flash 1 MB, RAM 256 KB, Bluetooth Low Energy 5.0 protocol stack LoRaWAN – Semtech SX1262 LoRa Transceiver พร้อม LoRaWAN 1.0.2 protocol s […]

รีวิวอุปกรณ์เทคโนโลยี Z-Wave – RaZberry 7 Pro และ Z-Uno2

RaZberry 7 Pro & Z Uno2

เมื่อเร็วๆนี้เราได้รับ RaZberry 7 Pro และ Z-Uno2 ซึ่งเป็นอุปกรณ์ Smart Home ที่ใช้ Z-Wave เทคโนโลยีจากบริษัท Z-Wave.Me มาทำการทดสอบ บริษัทนี้สร้างผลิตภัณฑ์บน Z-Wave เทคโนโลยีเป็นหลัก และเป็นสมาชิกของ Z-Wave Alliance สำหรับหลายคนที่ปวดหัวกับปัญหาของคลื่นความถี่ที่ทับซ้อนกันมากมายในย่าน 2.4GHz (Wifi, Zigbee,Thread) เทคโนโลยี Z-Wave เป็นทางเลือกที่ดีมากๆ เพราะใช้คลื่นความถี่ในย่าน 800-900 MHz ที่แออัดน้อยลง นอกเหนือจากนั้นเทคโนโลยี Z-Wave ยังมีมาช้านานกว่า 20 ปี ทำให้มีอุปกรณ์ที่ใช้ Z-Wave มากมายในท้องตลาดและสามารถใช้ร่วมกันข้ามค่ายได้เป็นอย่างดีซึ่งเป็นข้อดีอีกข้อนึงถ้าจะเปรียบเทียบกับโปรโตคอลอื่นๆ อุปกรณ์ที่เราได้รับมีสองชิ้นคือ RaZberry 7 Pro ซึ่งเป็น Shield ที่เสียบลงบน GPIO ของ Raspberry Pi เพื่อทำให้ Raspber […]