Banana Pi เปิดตัวเราเตอร์ WiFi 6 ที่ใช้ Triductor TR6560 SoC รองรับ OpenWrt

Banana Pi BPI Wifi 6 Router

Banana Pi เริ่มขายผลิตภัณฑ์ที่มีบอร์ดเราเตอร์ Banana Pi BPI-WiFi 6 ราคาถูกที่ใช้ Triductor TR6560 dual-core SoC และชิปเซ็ต TR5220 WiFi 6 มาพร้อมกับระบบที่สมบูรณ์แบบมีเคสและเสาอากาศ บริษัทใช้เวลาสักพักหรือประมาณเกือบ 9 เดือน สำหรับเราเตอร์ Banana Pi BPI-WiFi 6 ที่มาพร้อมกับเคสพลาสติก, เสาอากาศภายนอก 4 เสา, สาย Ethernet และพาวเวอร์ซัพพลาย ราคา $30.90 (~1,100฿) บน Aliexpress สเปคของเราเตอร์ Banana Pi BPI-WiFi 6: SoC – โปรเซสเซอ Triductor Arm Cortex-A9 แบบ dual-core@ 1.2 GHz พร้อม LSW (Line-Card Switching) และฮาร์ดแวร์ NAT สูงสุด 5 Gbps ชิปเซ็ต WiFi – ชิปเซ็ต Triductor TR5220 WiFi 6 หน่วยความจำ – DDR3 512 MB ที่เก็บข้อมูล – SPI NAND flash ขนาด 128MB ระบบเครือข่าย 1x พอร์ต Gigabit Ethernet WAN พร้อมการรองรับ PoE ที่ […]

OpenWrt One/AP-24.XY บอร์ดเราเตอร์ที่กำลังจะเปิดตัว โดยนักพัฒนา OpenWrt และ Banana Pi

OpenWrt One AP-24.XY

นักพัฒนา OpenWrt ได้เริ่มกระบวนการพัฒนาบอร์ดเราเตอร์ “ OpenWrt One/AP-24.XY ” ที่ใช้ ชิปเซ็ต MediaTek MT7981B (Filogic 820) และชิปเซ็ต MediaTek MT7976C dual-band WiFi 6 และได้รับร่วมมือกับ Banana Pi ในการออกแบบ และจะดำเนินการผลิตและจัดจำหน่ายบอร์ดเราเตอร์นี้ด้วย รุ่น OpenWrt 23.05 มีเราเตอร์และอุปกรณ์อื่นๆ เกือบ 1,800 เครื่องได้รับการรองรับอย่างเป็นทางการโดยระบบปฏิบัติการ Linux แบบ lightweight embedded และยังมีอีกมากที่อ้างว่าใช้งาน OpenWrt ผ่านทางแยกของระบบปฏิบัติการ แต่ไม่มีสิ่งใดที่ถูกสร้างขึ้นโดยนักพัฒนา OpenWrt ซึ่งขณะนี้ได้ตัดสินใจสร้างบอร์ดเราเตอร์ของตนเองโดยร่วมมือกับ Banana Pi เนื่องจากพวกเขาได้ทำบอร์ดดังกล่าว รวมถึงBPI-R4 บอร์ดเราเตอร์ WiFi 7 สเปคเบื้องต้นของ OpenWrt One/AP-24.XY : SoC – โปรเซสเซอร์ M […]

Banana Pi BPI-M7 – บอร์ด SBC แบบ low-profile ที่ใช้ Rockchip RK3588 พร้อมพอร์ต 2.5GbE, M.2 NVMe storage, HDM 2.1 และอื่นๆ

Banana Pi BPI-M7

บริษัท Banana Pi กำลังพัฒนา Banana Pi BPI-M7 บอร์ด SBC ที่ใช้ชิป Rockchip RK3588 SoC เป็นบอร์ดแบบ low-profile ทำให้เรานึกถึงบอร์ดของ Khadas เช่น Khadas Edge2 หรือ VIM4 แต่มีพอร์ตเพิ่มเติมด้วยรูปแบบฟอร์มแฟคเตอร์ที่ใหญ่กว่า บอร์ด SBC – Banana Pi BPI-M7 มี RAM สูงสุด 32GB และ eMMC flash  128GB และ M.2 2280 socket สำหรับ NVMe SSD 1 ช่อง, อินเทอร์เฟสจอแสดงผล 3 แบบ (HDMI, USB-C, MIPI DSI) คอนเนกเตอร์กล้อง 2 อัน, พอร์ต 2.5GbE 2 ช่อง, รองรับการเชื่อมต่อ WiFi 6 และ Bluetooth 5.2, พอร์ต USB และ GPIO header 40 ขาสำหรับการขยาย สเปค Banana Pi BPI-M7: SoC – โปรเซสเซอร์ Rockchip RK3588 octa-core พร้อมด้วย CPU – 4x Cortex‑A76 cores @ สูงสุด 2.4 GHz, 4x Cortex‑A55 core @ 1.8 GHz GPU –Arm Mali-G610 MP4 “Odin” GPU Video dec […]

Banana Pi BPI-CM2 – โมดูลทางเลือก Raspberry Pi Compute Module 4 ที่ใช้ Rockchip RK3568 พร้อมขา I/O แบบพิเศษ

Rockchip RK3568 Raspberry Pi CM4 SoM

Banana Pi BPI-CM2 เป็น Raspberry Pi CM4-compatible system-on-module ที่ใช้ Rockchip RK3568 quad-core Cortex-A55 SoC และมีขา I/O แบบพิเศษ  โดยมีคอนเนกเตอร์แบบ high-density 100 พิน 2 อัน และคอนเนกเตอร์แบบ  high-density 70 พินอีก 2 อัน เพื่อรองรับอินพุต/เอาท์พุตเพิ่มเติมจากชิป Rockchip อย่างเช่น PCIe 3.0, USB 3.0, eDP, MIPI DSI, และ Gigabit Ethernet เพิ่ม โมดูล Rockchip RK3568 มาพร้อมกับคุณสมบัติและตัวเลือกเหมือนกับ Raspberry Pi CM4 เช่น RAM 2GB ถึง 8GB, eMMC flash 8GB ถึง 256GB, โมดูล WiFi 5 และ Bluetooth 5.0 (อุปกรณ์เสริม) และตัวรับส่งสัญญาณ Ethernet บนโมดูล,  Realtek RTL8211F ข้อมูลจำเพาะของ Banana Pi BPI-CM2: SoC – Rockchip RK3568 CPU – โปรเซสเซอร์ Quad-core Cortex-A55 @ สูงสุด 2.0 GHz GPU – GPU Mali-G52 2EE ร […]

Banana Pi BPI-R3 Mini – บอร์ดเราเตอร์ 2.5GbE แบบ low-profile ที่ใช้ชิป MediaTek Filogic 830 SoC

Banana Pi BPI R3 Mini SBC

บอร์ดเราเตอร์ Banana Pi BPI-R3 Mini ใช้ชิปประมวลผล MediaTek MT7986 (Filogic 830) โปรเซสเซอร์ Quad-core Arm Cortex-A53 พร้อมหน่วยความจำ DDR4 2GB, หน่วยความจำแฟลช eMMC 8GB, มีพอร์ต 2.5GbE แบบ low-profile 2 พอร์ต และรองรับ WiFi 6 นอกจากนี้ยังมาพร้อมกับซ็อกเก็ต M.2 PCIe ที่สามารถใช้กับ NVMe SSD หรือโมดูลเซลลูลาร์ 5G BPI-R3 Mini ใช้ชิปหลายตัวเหมือนกับในบอร์ด Banana Pi BPI-R3 แต่มีการออกแบบที่เล็กกว่ามาก ทำให้เหมาะสำหรับใช้เป็น Firewall 2.5GbE, Wireless Router หรือ Repeater, Home Security Gateway, Home Automation Gateway, อุปกรณ์ NAS และอื่นๆ สเปคของ Banana Pi BPI-R3 Mini: SoC – MediaTek MT7986A (Filogic 830) quad-core Arm Cortex A53 processor พร้อม Hardware acceleration engines สำหรับ Wi-Fi offloading และเครือข่าย ห […]

Banana Pi BPI-KVM – โซลูชัน KVM over IP ที่ใช้ Rockchip RK3568 SoC

Banana Pi BPI KVM

Banana Pi กำลังการพัฒนา BPI-KVM box ที่ใช้ชิป Rockchip RK3568 SoC แต่ไม่ใช่มินิพีซี แต่เป็นโซลูชัน KVM over IP ที่ออกแบบมาเพื่อควบคุมคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ต่างๆ ผ่านทางเครือข่ายจากระยะไกล ทำให้สามารถควบคุมอุปกรณ์ได้เหมือนอยู่ในตัวอุปกรณ์นั้นๆ เช่นสามารถเปิดและปิดอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับ BPI-KVM ได้ และสามารถเข้าถึง BIOS และฟังก์ชันอื่นๆ ของอุปกรณ์นั้นๆ ได้ ในอดีตโซลูชัน KVM over IP นั้นมีราคาแพง แต่ตั้งแต่คนเริ่มใช้บอร์ด Raspberry Pi SBC กับบอร์ดขยายเช่น PiKVM v3, และ โซลูชัน KVM over IP ที่ใช้ Raspberry Pi CM4 ได้เปิดตัวในราคาไม่ถึง $200(~6,900฿) ด้วยความนิยมของโซลูชันเหล่านี้ Banana Pi ได้ตัดสินใจที่จะเป็นคู่แข่ง, โดย BPI-KVM ใช้โปรเซสเซอร์ Rockchip RK3568 พร้อมขา IO มากมาย มีอินเทอร์เฟซที่จำเป็นทั้งหมดสำหรับแอ […]

Banana Pi BPI-Wifi 6 : บอร์ดเราเตอร์ WiFi 6 ราคาถูกที่ใช้ชิป Triductor TR6560 & TR5220

Banana Pi BPI WiFi 6 board

Banana Pi BPI-Wifi 6 เป็นบอร์ดเราเตอร์ WiFi 6 พร้อมพอร์ต Gigabit Ethernet 5 ช่องที่ใช้ Triductor Technology TR6560 dual-core Cortex-A9 router SoC และชิปเซ็ต TR5220 WiFi 6 และขายในราคาถูกเพียง $26.32 (~900฿) บน Aliexpress หรือราคา $39.99(~1,400฿) สำหรับชุดคิทที่มีบอร์ด, สายอากาศ 4 อันและอุปกรณ์จ่ายไฟ 12V บอร์ดนี้มาพร้อมกับ RAM 512MB และ SPI flash 128MB สำหรับ OpenWrt มาพร้อมกับคอนเนกเตอร์สายอากาศ 4 ตัวสำหรับเชื่อมต่อ WiFi และสามารถติดตั้งอุปกรณ์เสริมโมดูล 12V PoE เพื่อจ่ายไฟแทนการใช้อะแดปเตอร์จ่ายไฟ 12V ผ่าน DC jack สเปคบอร์ด Banana Pi BPI-WiFi 6: SoC – Triductor TR6560 dual-core Arm Cortex-A9 processor @ 1.2 GHz with LSW (Line-Card Switching) และฮาร์ดแวร์ NAT สูงสุด 5 Gbps ชิปเซ็ต WiFi – ชิปเซ็ต Triductor TR522 […]

เปิดตัว Linux 6.4 กับเปลี่ยนแปลงสถาปัตยกรรม Arm, RISC-V และ MIPS

Linux 6.4 release

Linus Torvalds ได้ประกาศเปิดตัว Linux 6.4 บน Linux Kernel Mailing List (LKML) เมื่อประมาณ 2 เดือนที่ผ่านมาได้เปิดตัว Linux 6.3 มีการดำเนินการของกลไกการป้องกันการโจมตี Spectre ของ AMD ที่เรียกว่า “automatic IBRS”, การพัฒนา Rust โดยมีการรองรับ User-mode Linux (บนระบบ x86-64 เท่านั้น), ระบบไฟล์ NFS (สำหรับ Client และ Server) การรองรับกการเข้ารหัส (Encryption) AES-SHA2, kernel สามารถติดตั้ง built-in Dhrystone benchmark ซึ่งช่วยให้สามารถทดสอบประสิทธิภาพขณะที่ทำการเปิดใช้งาน SoC ได้, มีการเพิ่มอุปกรณ์ WiFi ใหม่ด้วยอุปกรณ์ RealTek RTL8188EU (rtl8xxxu) และอุปกรณ์ Qualcomm Wi-Fi 7 (ath12k) รวมถึงการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ อีกมากมาย จุดเด่นของ Linux 6.4 มีการเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจใน Linux 6.4 ได้แก่: สามารถรองรับคุณสมบัติ linea […]