PicoMQTT : ไลบรารี MQTT Client/Broker สำหรับ ESP8266 และ ESP32

PicoMQTT ESP8266 MQTT Broker

PicoMQTT เป็นไลบรารี MQTT ที่มีน้ำหนักเบา (lightweight) สำหรับ Arduino/PlatformIO เหมาะสำหรับนำใช้งานกับ ESP8266 และ ESP32, รองรับโหมด MQTT Client และโหมด MQTT Broker ซึ่งทำให้ ESP8266 หรือ ESP32 สามารถเปลี่ยนเป็นเกตเวย์ MQTT แทน Raspberry Pi หรืออุปกรณ์เกตเวย์ IoT

ไลบรารีนี้เป็นไปตามข้อกำหนดของ MQTT 3.1.1 รองรับการ Publish และการใช้ส่งข้อความที่มีขนาดใดก็ได้ สามารถส่งข้อความเป็นพันต่อวินาที และรองรับการใช้งานร่วมกับกับไลบรารี ArduinoJson เพื่อ publish และใช้งานข้อความ JSON

รีวิว Cytron CM4 Maker Board – Part 2 : ทดสอบ NVMe SSD, RTC, Buzzer, Grove modules, ChatGPT…

Cytron CM4 Maker board Review

ใน Part 1 ได้ตรวจสอบ CM4 Maker Board สำหรับ Raspberry Pi CM4 และบูตด้วยการใส่ “MAKERDISK” microSD card Class A1 ขนาด 32GB ที่มี Raspberry Pi OS ติดตั้งอยู่ล่วงหน้า, สำหรับ Part 2 ของการรีวิว CM4 Maker เราจะใช้ NVMe SSD ขนาด 128GB ของบริษัทที่ให้มา และทดสอบคุณสมบัติอื่น ๆ ของบอร์ดรวมถึง RTC, Buzzer, โมดูล Grove จาก Seeed Studio และเข้า ChatGPT ให้ช่วยเขียนโปรแกรม Python เพื่อนำมาใช้งาน การบูต Cytron CM4 Maker Board ด้วย “MAKERDISK” NVMe SSD เริ่มจากเชื่อมต่อโมดูล Grove หลายตัวด้วยอินเทอร์เฟซ GPIO และ I2C, Raspberry Pi Camera Module 3, สาย Ethernet, RF dongle 2 ตัวสำหรับคีย์บอร์ดและเมาส์ไร้สาย, สาย HDMI เข้ากับจอภาพ และจอมอนิเตอร์ และเสียบปลั๊กอะแดปเตอร์ USB-C 5V/3.5A ที่ให้มา MAKERDISK SSD มาพร้อมกับ Raspberry P […]

รีวิว ODROID-H3+ SBC พร้อมโหมด “Unlimited Performance” และ Net Card 2.5GbE

ODROID H3 Plus Review Net Card Case Type 7

Hardkernel ได้เพิ่ม Intel Jasper Lake mini PC ให้กับ ODROID-H series หรือ ODROID-H3 และ ODROID-H3+ คล้ายกับกับ ODROID-H2/H2+ ซีรีส์ใหม่นี้ยังรองรับ Net Card ซึ่งจะเพิ่มพอร์ต Ethernet 2.5 กิกะบิตเพิ่มเติมอีก 4 พอร์ต, บริษัท Hardkernel ได้ส่ง ODROID-H3+ SBC พร้อมกับอุปกรณ์เสริมต่าง ๆ มาให้ทดสอบ และฉันจะดูผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทำงานเมื่อเปลี่ยนค่า Power Limit ใน UEFI (BIOS) พร้อมดูประสิทธิภาพการทำงานของ Net Card เชื่อมต่อเครือข่าย ฮาร์ดแวร์ ODROID-H3+ ODROID-H3+ ประกอบด้วยมาเธอร์บอร์ดขนาด 110 x 110 มม. (4.33 x 4.33 นิ้ว) มาพร้อมกับชิปประมวลผล Intel Pentium Silver Jasper Lake mobile N6005 ที่มี 4 คอร์และ 4 เธรดและสามารถเพิ่มความเร็วได้สูงสุดถึง 3.3 กิกะเฮิร์ตซ์และมี Intel UHD Graphics อีกด้วย ชิปประมวลผลและเมนบอร […]

รีวิวการติดตั้งและใช้งาน Android 11 บนบอร์ด Khadas VIM1S

khadas-vim1s-review-android-11

ในบทความก่อนหน้านี้ รีวิวการติดตั้งและใช้งาน Ubuntu 22.04 บนบอร์ด Khadas VIM1S ได้มีการทดลองติดตั้ง Ubuntu 22.04 และทดสอบวัดค่าประสิทธิภาพในด้านต่าง ๆ ไปแล้ว ในบทความนี้จะเล่าถึงการทดลองใช้งาน Android 11 บนบอร์ด Khadas VIM1S กันบ้างว่าการใช้งานโดยรวมเป็นอย่างไร และผลการประสิทธิภาพเป็นอย่างไรบ้าง การทดลองติดตั้ง Android 11 บบอร์ด Khadas VIM1S ด้วย OOWOW การติดตั้ง OS ให้กับบอร์ด Khadas VIM1S สามารถทำได้ง่ายมากผ่าน OOWOW ซึ่งเป็น embedded service ติดมากับบอร์ดเลย โดยตัว OOWOW นี่พึ่งมีให้ใช้บน VIM4, Edge2 แล้วก็ VIM1S นี่แหละครับ ทำให้เราสามารถติดตั้ง OS ได้ง่าย ๆ เลย แต่ต้องมีจอภาพ คีย์บอร์ดแล้วก็อินเตอร์เน็ตนะครับ จะใช้เป็น LAN หรือ Wi-Fi ก็ได้ โอเคงั้นเรามาเริ่มติดตั้ง Android 11 บน Khadas VIM1S ไปด้วยกันเลยดี […]

รีวิวการติดตั้งและใช้งาน Ubuntu 22.04 บนบอร์ด Khadas VIM1S

Khadas VIM1S

พบกับการทดลองติดตั้ง Ubuntu 22.04 ลงบนบอร์ด Khadas VIM1S บอร์ดรุ่นเล็กจาก Khadas และทดสอบประสิทธิภาพในด้านต่างๆของบอร์ด VIM1S  ทั้งความเร็วของหน่วยความจำ การเขียนอ่านดิสก์ ความสามารถด้าน 3D การติดตั้ง Ubuntu 22.04 บนบอร์ด Khadas VIM1S เริ่มจากการติดตั้ง OS บน VIM1S ซึ่งการติดตั้ง OS ให้กับบอร์ดทำได้ง่ายมากผ่าน OOWOW ซึ่งเป็น embedded service ติดมากับบอร์ดเลย ซึ่งตัว OOWOW นี่มีให้ใช้บน VIM4, Edge2 แล้วก็ VIM1S นี่แหละครับ ทำให้เราสามารถติดตั้ง OS ได้ง่ายๆเลย แต่ต้องมีจอภาพ คีย์บอร์ดแล้วก็อินเตอร์เน็ตนะจะ LAN หรือ Wi-Fi ก็ได้ โอเคงั้นเรามาเริ่มติดตั้ง Ubuntu 22.04 บน Khadas VIM1S  ไปด้วยกันเลยดีกว่า การบูตเข้า OOWOW สามารถทำได้ด้วยการกดปุ่ม Function บนบอร์ดค้างไว้แลัวกดปุ่ม Reset แล้วจึงปล่อยปุ่ม Function รอซักค […]

รีวิว NanoPi R6S – Part 1: แกะกล่อง, แกะเครื่อง, ติดตั้ง OpenWrt 22.03 รัน iperf3 benchmarks

NanoPi R6S routing benchmark

NanoPi R6S เป็นอุปกรณ์ที่ขับเคลื่อนด้วย Rockchip RK3588S ซึ่งไม่เพียงแต่เป็นเราเตอร์ที่มีพอร์ต 2.5GbE 2 ช่อง แต่ยังเป็นมินิพีซีที่มีพอร์ต HDMI และ USB และ Edge AI computer ด้วย 6 TOPS NPU ในโปรเซสเซอร์ บริษัท FriendlyElec ได้ส่งตัวอย่าง NanoPi R6S 2 อันอย่างมาให้ฉันตรวจสอบ วันนี้ฉันจะเริ่มด้วยการแกะกล่อง, แกะเครื่อง และติดตั้ง OpenWrt 22.03 เพื่อรัน iperf3 benchmarks และฉันจะลองใช้ฟีเจอร์อื่นๆ กับ Debian หรือ Ubuntu Desktop ในครั้งต่อไป แกะกล่อง NanoPi R6S เราเตอร์/มินิพีซีมาพร้อมกับเทปยาง (3M)  แผงด้านหน้ามาพร้อมกับไฟ LED แสดงสถานะสี่ดวงและพอร์ตอีเธอร์เน็ต, พอร์ต USB 2.0 และพอร์ต USB 3.0 รวมถึง “window” ตัวรับแสงอินฟราเรด (IR Receiver)  (ที่อยู่ใต้พอร์ต USB 3.0), แผงด้านหลังมีพอร์ต USB Type-C ที่รองรับอินพุต 5 […]

รีวิว Khadas Edge2 บน Android 12

Khadas Edge2 Android 12 review

เราได้รีวิว Khadas Edge2 Pro กับ Ubuntu 22.04ไปแล้ว และตอนนี้เราจะทดสอบ Rockchip RK3588S SBC ที่บางเฉียบกับ Android 12 กัน ฉันจะทดสอบคุณสมบัติต่างๆ ใช้ benchmarks, เล่นวิดีโอ และเกม ฯลฯ… Khadas Edge2 กับ Android 12 บอร์ดของเราใช้ Ubuntu 22.04 ดังนั้นเพื่อเข้าสู่ระบบเฟิร์มแวร์ OOWOW ฉันต้องกดปุ่มฟังก์ชัน (ตรงกลาง) ค้างไว้ จากนั้นกดปุ่มรีเซ็ต จากนั้นปล่อยปุ่มฟังก์ชันและเข้าสู่อินเทอร์เฟซ OOWOW อิมเมจ Android 12 อันใหม่ลงวันที่ 20 กันยายน 2022 นั้นพร้อมใช้งาน และ OOWOW ดาวน์โหลดไฟล์แล้วแฟลชไปที่บอร์ด ภายในห้านาที Android 12 เริ่มรันบนอร์ด ในฐานะที่เป็นคนที่ใช้เวลาหลายชั่วโมงในการแฟลชเฟิร์มแวร์จาก Windows มาก่อน ฉันขอขอบคุณเครื่องมืออย่าง OOWOW ที่ทำให้การติดตั้งและสลับระหว่างระบบปฏิบัติการเป็นเรื่องง่าย การต […]

รีวิว Khadas Edge2 Pro – Rockchip RK3588S SBC ทดสอบกับ Ubuntu 22.04

Khadas Edge2 Ubuntu 22.04

เรามีตัวอย่างของคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยว Khadas Edge2 ที่ใช้โปรเซสเซอร์ Rockchip RK3588S octa-core Cortex-A76/A55 และตอนนี้บอร์ดเปิดตัวอย่างเป็นทางการแล้ว วันนี้เราสามารถโพสต์รีวิวบอร์ดของเรากับการทดสอบ Ubuntu 22.04 และเราจะทดสอบกับ Android 12 ในบทความต่อไป Khadas Edge2 Pro พร้อมอุปกรณ์เสริม Khadas Edge2 มีสองรุ่น คือ Basic และ Pro บอร์ดที่เราได้รับเป็น Edge2 Pro SBC พร้อม RAM ขนาด 16GB และแฟลช 64GB ที่มาพร้อมกับเสาอากาศ WiFi 2 อัน และบริษัทยังได้ส่ง fanink แบบบาง (low-profile) และ thermal pad เพื่อระบายความร้อนด้วย ในทางทฤษฎีจะเป็นทางเลือก แต่ในทางปฏิบัติมันเป็นสิ่งจำเป็น เนื่องจากในขณะที่บอร์ดทำงานจะไม่ร้อนมาก แต่ก็ยังต้องการฮีทซิงค์เพื่อป้องกันความร้อนสูงเกินไปและการควบคุมปริมาณ พัดลมอาจไม่จำเป็นจริงๆ ตามที่เร […]