Gigadevice GD32VW553 : ไมโครคอนโทรลเลอร์ RISC-V รองรับการเชื่อมต่อ WiFi 6 และ Bluetooth 5.2 LE

GD32VW553 WiFi 6 Bluetooth 5.2 LE

Gigadevice GD32VW553 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ RISC-V สามารถประมวลผลด้วยความเร็ว 160MHz นำไปใช้กับงานด้าน IoT ที่รองรับ WiFi 6 (802.11ax) และ Bluetooth 5.2 Low Energy (LE) และมีตัวเลือกในแพ็คเกจ QFN32 และ QFN40 พร้อม GPIO สูงสุด 28 ขา ชิป IoT นี้รองรับโหมดการใช้พลังงานต่าง ๆ และฟีเจอร์ Target Wake Time (TWT) เพื่อช่วยให้ลดการใช้พลังงาน รวมทั้งรองรับคุณสมบัติทาง WiFi เช่น WPA3 และ WiFi direct, ในขณะรองรับ Bluetooth 5.2 LE มีความเร็วในการรับส่งข้อมูล 2 Mbps และรองรับโหมด Long Range สเปค Gigadevice GD32VW553: MCU core – 32-bit Nuclei N307 RISC-V core @ สูงสุด 160 MHz พร้อมส่วนขยายคำสั่ง RV32I / M / A / F / D / C / P / B หน่วยความจำ – SRAM ขนาด 320KB ที่เก็บข้อมูล – แฟลช 2048KB หรือ 4096KB Wireless WiFI 6 802.11b/g/n/a […]

STMicro เปิดตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32WB09 รองรับ Bluetooth 5.3 LE และโมดูล STM32WB1MMC รองรับ Bluetooth 5.4 LE

B-WB1M-WPAN1 Bluetooth 5.4 LE evaluation board

STMicro ได้เปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ 2 รายการที่รองรับ Bluetooth 5.3/5.4  ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร STM32WB09 Cortex-M0+ ที่รองรับ Bluetooth 5.3 LE และโมดูล ST32WB1MMC Cortex-M0+/M4 ที่รองรับ Bluetooth 5.4 LE เพื่อการออกแบบที่เรียบง่ายขึ้น รวมถึง B-WB1M-WPAN1 evaluation board ไมโครคอนโทรลเลอร์ STMicro STM32WB09 รองรับ Bluetooth 5.3 LE สิ่งที่น่าสนใจของ STM32WB09: MCU core – Arm Cortex-M0+ core ทำงานที่ความเร็ว 64 MHz หน่วยความจำและที่เก็บข้อมูล – หน่วยความ flash 512 KB และ RAM 64 KB Wireless Bluetooth 5.3 รองรับการเชื่อมต่อสูงสุด 2 Mbps, long-range Tx Power – สูงสุด +8 dBm Rx Sensitivity -97 dBm ที่ 1 Mbps -104 dBm ที่ 125 bps รองรับการตรวจหาทิศทาง (Direction finding support) โดยใช้ AoA/AoD Integrated balun อื่น ๆ – crys […]

MediaTek เปิดตัว Dimensity 9300 ชิปเซ็ตสมาร์ทโฟนที่มี Cortex-X4/A720 แต่ไม่มี efficiency core

MediaTek Dimensity 9300

MediaTek Dimensity 9300 เป็นชิปเซ็ตสมาร์ทโฟน 5G ระดับพรีเมียมที่มี CPU 8 คอร์ประกอบด้วย Cortex-X4 จำนวน 4 คอร์  และ Cortex-A720 จำนวน 4 คอร์ แต่ไม่มี Cortex-A520 efficiency core พร้อม GPU Arm Mali-G720 รุ่นล่าสุด และ MediaTek APU 790 neural processing unit (NPU) ที่สามารถรองรับเทคโนโลยี generative AI และรองรับโมเดลภาษาขนาดใหญ่ (LLM) ที่ขนาดสูงสุด 33 พันล้านพารามิเตอร์ Arm ได้คิดค้นเทคโนโลยี big.LITTLE และ DynamIQ เพื่อผสมคอร์ในด้านการประหยัดพลังงานและประสิทธิภาพ เพื่อลดการใช้พลังงาน การเปิดตัวล่าสุดของบริษัท ได้แก่ Cortex-X4,คอร์ระดับพรีเมียม, Cortex-A720 performance/big core,และ Cortex-A520 efficient/LITTLE core แต่ MediaTek ตัดสินใจไม่ใช้คอร์เล็ก Cortex-A520 ใน Dimensity 9300 ซึ่งทำให้ฉันรู้สึกว่าแปลกสำหรับชิ […]

Renesas RA8M1 : ชิปไมโครคอนโทรลเลอร์ Arm Cortex-M85 ตัวแรกของโลก

Renesas RA8M1 Arm Cortex-M85 microcontroller

Renesas RA8M1 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ Arm Cortex-M85 ความเร็วสูงสุด 480 MHz  ที่มพร้อมเทคโนโลยี Arm Helium เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผล DSP และ machine learning บนไมโครคอนโทรลเลอร์ Cortex-M และจากการทดสอบ EEMBC CoreMark ให้ประสิทธิภาพ สูงสุดถึง 6.39 CoreMark/MHz  หรือมากกว่า 3,000 CoreMark ที่ความเร็ว 480 MHz.. Arm Cortex-M85 ได้เปิดตัวครั้งแรกในเดือนเมษายน 2022 เป็นทางเลือกที่เร็วกว่า Cortex-M7 และและมาพร้อมเทคโนโลยี Arm Helium ใหม่ที่ให้ประสิทธิภาพของ machine learning คล้ายกับโปรเซสเซอร์แอปพลิเคชัน Cortex-M55 ในช่วงปีที่ผ่านมาเราได้รับข้อมูลบางส่วนเกี่ยวกับ Renesas Cortex-M85 ที่กำลังจะมาถึงในปีที่แล้ว และในที่สุดก็มีไมโครคอนโทรลเลอร์ Cortex-M85 ตัวแรกของโลก คุณสมบัติและสเปคที่สำคัญของ Renesas RA8M1: MCU […]

RAKwireless Blues.ONE ชุดพัฒนา IoT รองรับการเชื่อมต่อ LoRaWAN, LTE-M และ NB-IoT พร้อม Blues NoteCard

Blues.ONE LTE M NB IoT devkit

RAKwireless Blues.ONE เป็นชุดพัฒนา IoT รองรับการเชื่อมต่อ LoRaWAN และรองรับการเชื่อมต่อเซลลูล่าร์แบบ LTE-M และ NB-IoT ผ่าน Blues NoteCard พร้อม Data package  500 MB. สามารถใช้งานได้นานถึง 10 ปี ชุดพัฒนาใช้ระบบต้นแบบ WisBlock modular IoT พร้อมด้วย RAK13102 WisBlock Blues Notecarrier, Blues NoteCard, บอร์ดฐาน WisBlock และโมดูล WisBlock Core สามารถใช้เพื่อสร้างต้นแบบหรือพัฒนาอุปกรณ์ IoT สำหรับระบบอัตโนมัติทางอุตสาหกรรมและการติดตามตำแหน่งอุปกรณ์ (asset-tracking) สเปค Blues.ONE: RAK4631 WisBlock Core Module SoC – Nordic nRF52840 ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arm Cortex-M4F @ 64 MHz พร้อม Flash 1 MB, RAM 256 KB, Bluetooth Low Energy 5.0 protocol stack LoRaWAN – Semtech SX1262 LoRa Transceiver พร้อม LoRaWAN 1.0.2 protocol s […]

ไมโครคอนโทรลเลอร์ไร้สาย Nordic nRF54L15 ที่ใช้ Cortex-M33 ลดการใช้พลังงาน Rx ลงครึ่งหนึ่งเมื่อเทียบกับชิป nRF52

nRF54L15

บริษัท Nordic Semiconductor ได้เปิดตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ไร้สายแบบหลายโปรโตคอล nRF54L15 Cortex-M33 ที่มีความเร็ว 128 MHz ซึ่งเป็นรุ่นแรกจากซีรีส์ nRF54L และเป็นรุ่นที่สองจากตระกูล nRF54 หลังหลังจากเปิดตัว nRF54H20 dual-core Cortex-M33 ที่มีความเร็ว 320 MHz เมื่อเดือนเมษายน ในขณะที่ nRF54H20 ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับอุปกรณ์ IoT ประเภทใหม่ ด้วยประสิทธิภาพที่ก้าวกระโดดและทรัพยากรมากมาย พร้อมที่มี flash ขนาดสูงสุด 2 MB และ SRAM 1MB, แต่ nRF54L15 รุ่นใหม่มีเป้าหมายที่จะอัปเกรดเป็นซีรีส์ nRF52 ด้วยประสิทธิภาพที่สูงขึ้นสองเท่าและประสิทธิภาพการใช้พลังงานที่ดีขึ้นอย่างมาก โดยเฉพาะการใช้พลังงานของส่วนรับสัญญาณ (Rx) ลดลงครึ่งหนึ่งเมื่อเทียบกับรุ่นก่อนหน้านี้ คุณสมบัติและสเปคของ Nordic Semi nRF54L15: CPU Arm Cortex-M33 ที่ความเ […]

Sony เปิดตัวโมดูลเก็บเกี่ยวพลังงาน โดยใช้พลังงานจากสัญญาณรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

Sony energy harvesting module

บริษัท Sony Semiconductor Solutions Corporation (SSS) บริษัทชิปในกลุ่มโซนี่ได้พัฒนาโมดูลเก็บเกี่ยวพลังงาน (energy harvesting) ที่ใช้พลังงานจากสัญญาณรบกวน (noise) ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อจ่ายพลังงานให้กับอุปกรณ์ IoT โมดูลใหม่ใช้กระบวนการพัฒนาตัวปรับเข้ารับสัญญาณของ Sony เพื่อสร้างพลังงานจากสัญญาณรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากหุ่นยนต์ภายในโรงงาน, จอภาพและแสงไฟภายในสำนักงาน, จอภาพและทีวีในร้านค้าและบ้าน ฯลฯ เพื่อให้ได้แหล่งจ่ายไฟที่เสถียรที่จำเป็นสำหรับการทำงานของเซนเซอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่มีการใช้พลังงานต่ำ โมดูลขนาดเล็ก 7 × 7 มม. ใช้ชิ้นส่วนโลหะของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่เป็นแหล่งกำเนิดสัญญาณรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นส่วนหนึ่งของสายอากาศ และใช้วงจรแปลงค่าเพื่อแปลงสัญญาณรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใน […]

รีวิว SenseCAP T1000 LoRaWAN GPS Tracker กับการติดตามตำแหน่งของฝูงวัว

sensecap t1000 tracking location herd

SenseCAP T1000 เป็นอุปกรณ์ติดตามตำแหน่งโดยใช้พิกัดจีพีเอส และมีเซ็นเซอร์ต่างๆ ในตอนแรกอุปกรณ์จะส่งข้อมูลแบบไร้สายระยะไกลแต่ใช้พลังงานต่ำ ไปยังเครือข่ายลอร่าแวนเป็นระยะๆ ลงทุนในอนาคตของการจัดการปศุสัตว์ด้วยตัวติดตามจีพีเอส ในด้านการเกษตรอัจฉริยะ เทคโนโลยี IoT ไม่เพียงแต่สามารถพบได้ ในการวิเคราะห์และจัดการดิน, พืชผล และน้ำเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการติดตามตำแหน่งของปศุสัตว์ ซึ่งเป็นอีกแง่มุมที่สำคัญของการทำฟาร์ม ในที่นี้เราจะมาทดสอบดูว่าเทคโนโลยี LoRaWAN บูรณาการเข้ากับระบบติดตามปศุสัตว์ได้อย่างไร? แกะกล่อง แกะกล่องออกมา จะพบกับอุปกรณ์ SenseCAP T1000 GPS Tracker มีขนาดเท่ากับบัตรเครดิต และสายชาร์ทแบตเตอรี่ SenseCAP T1000 กับการทำปศุสัตว์อัจฉริยะ ระบุตำแหน่งของฝูงแบบเรียลไทม์ ระบุตัวตนของสัตว์ได้อย่างง่ายดาย เพิ่มประส […]

Exit mobile version