Renesas RA8M1 : ชิปไมโครคอนโทรลเลอร์ Arm Cortex-M85 ตัวแรกของโลก

Renesas RA8M1 Arm Cortex-M85 microcontroller

Renesas RA8M1 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ Arm Cortex-M85 ความเร็วสูงสุด 480 MHz  ที่มพร้อมเทคโนโลยี Arm Helium เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผล DSP และ machine learning บนไมโครคอนโทรลเลอร์ Cortex-M และจากการทดสอบ EEMBC CoreMark ให้ประสิทธิภาพ สูงสุดถึง 6.39 CoreMark/MHz  หรือมากกว่า 3,000 CoreMark ที่ความเร็ว 480 MHz.. Arm Cortex-M85 ได้เปิดตัวครั้งแรกในเดือนเมษายน 2022 เป็นทางเลือกที่เร็วกว่า Cortex-M7 และและมาพร้อมเทคโนโลยี Arm Helium ใหม่ที่ให้ประสิทธิภาพของ machine learning คล้ายกับโปรเซสเซอร์แอปพลิเคชัน Cortex-M55 ในช่วงปีที่ผ่านมาเราได้รับข้อมูลบางส่วนเกี่ยวกับ Renesas Cortex-M85 ที่กำลังจะมาถึงในปีที่แล้ว และในที่สุดก็มีไมโครคอนโทรลเลอร์ Cortex-M85 ตัวแรกของโลก คุณสมบัติและสเปคที่สำคัญของ Renesas RA8M1: MCU […]

รีวิว: หุ่นยนต์สุนัขแสนรู้ CM4 XGO-Lite มาพร้อมด้วยแขนกลและปัญญาประดิษฐ์

XGO CM4 Raspberry Pi Robot

หุ่นยนต์สุนัข CM4 XGO-Lite เป็นหุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้การเขียนโปรแกรมโดยในรุ่นนี้มีแขนกลหุ่นยนต์แบบ 3 ข้อต่อ และมือจับหุ่นยนต์ติดตั้งที่บริเวณด้านหลัง สามารถหยิบจับวัตถุที่มีขนาดเบาได้ มีโมดูล Raspberry Pi CM4 บริเวณด้านหน้ามีกล้องและหน้าจอ LCD เพื่อใช้งานการประมวลผลด้าน AI และ Computer Vision มีเซอร์โวมอเตอร์เป็นตัวขับเคลื่อนข้อต่อขาแต่ละข้างโดยมีความสามารถ  Feedback  องศาของมุมกลับมาได้อีกด้วย ทำให้สามารถรับรู้การเคลื่อนไหวรอบทิศทางของตัวหุ่นยนต์ ในหุ่นยนต์ชุดนี้มีเซนเซอร์ตรวจจับความเอียง 6 แกน เพื่อการเดินและการเคลื่อนไหวเป็นไปได้อย่างมั่นคง หุ่นยนต์สุนัข CM4 XGO-Lite รองรับการเขียนโปรแกรมแบบ Blockly, Python และ ROS ได้ด้วย ความสามารถหลักของหุ่นยนต์สุนัข CM4 XGO-Lite เซอร์โวมีฟังก์ชันอ่านค่ามุมได้ทำให้ช่วยใ […]

ESP32-S3-BOX-3 devkit พร้อมจอแสดงผล 2.4 นิ้ว, ไมโครโฟนคู่, คอนเนกเตอร์ PCIe

ESP32 S3 BOX 3

Espressif Systems ได้เปิดตัวการอัปเดตชุดพัฒนา ESP32-S3-Box สำหรับนำไปใช้งานด้านการสั่งการด้วยเสียง (voice assistants) แบบออนไลน์และออฟไลน์ ด้วยชุดพัฒนา ESP32-S3-BOX-3 ที่ยังคงมีหน้าจอทัชสกีนแบบ capacitive ขนาด 2.4 นิ้วที่มีความละเอียด 320×240, ไมโครโฟนสองตัว, ลำโพงในตัวและพอร์ต USB-C แต่ได้เปลี่ยนคอนเกนเตอร์ PMOD เป็นคอนเนกเตอร์ PCIe สำหรับโมดูลส่วนขยายต่างๆ ชุดพัฒนา ESP32-S3 แบบ open-source ที่ใช้ ESP32-S3 SoC ที่มีส่วนขยาย AI และสามารถใช้เพื่อสร้างโซลูชันหลายประเภทด้วยเทคโนโลยีของบริษัท เช่น ESP-SR , ESP RainMaker และ Matter  เช่น งานด้านการสั่งการด้วยเสียง (voice assistants), แชทบอทด้วย ChatGPT, เครื่องเล่นเกมคอนโซลแบบพกพา, หุ่นยนต์จิ๋ว,Smart Home hub ที่เข้ากันได้กับ Matter ที่สามารถใช้ร่วมกับ Matter และอื่ […]

TRACEPaw: ขาหุ่นยนต์ใช้ machine learning พร้อมบอร์ด Arduino Nicla Vision

TRACEPaw

สุนัขหรือแมวไม่ได้เดินบนถนนยางมะตอยเพียงอย่างเดียวมันต้องเดินบนน้ำแข็งหรือทราย โดยใช้การมองเห็นด้วยตาและสัมผัสพื้นด้วยปลายประสาทแล้วปรับตัวตามสภาพ โปรเจค TRACEPaw open-source ซึ่งย่อมาจาก “Terrain Recognition And Contact force Estimation through Sensorized Legged Robot Paw” มีเป้าหมายเพื่อนำความสามารถแบบเดียวมาใช้กับหุ่นยนต์ที่มีขา Autonomous Robots Lab (ห้องปฏิบัติการหุ่นยนต์อิสระ) บรรลุเป้าหมายนี้โดยใช้ บอร์ด Arduino Nicla Vision ซึ่งใช้ประโยชน์จากกล้องและไมโครโฟนเพื่อรัน machine learning models บนไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32H7 Cortex-M7 เพื่อระบุประเภทของพื้นและประมาณการแรงที่ใช้บนขา” แต่กล้องไม่ได้ใช้เพื่อดูที่พื้นแต่ใช้เพื่อดูการเปลี่ยนรูปของซิลิโคนรูปกึ่งวงกลม ซึ่งทำจาก “Dragon Skin” ที่ปลายข […]

โมดูลขนาดจิ๋วที่ใช้ NXP i.MX 93 แบบบัดกรี พร้อมใช้กับบอร์ดขนาด Raspberry Pi

Raspberry Pi NXP iMX 93 SBC

QS93 ของบริษัท Ka-Ro Electronics เป็น System-on-Module  (SoM) ขนาดจิ๋วที่ใช้โปรเซสเซอร์ NXP i.MX 93 สามารถคอนเนกเตอร์แบบบัดกรี, รองรับ Linux และออกแบบมาสำหรับการประมวลผลแบบ edge processing บริษัทยังมี Evaluation board หรือบอร์ดสำหรับการทดลองใช้งาน ขนาดเท่าบัตรเครดิต ด้วยส่วนของ GPIO header และโครงสร้างทั่วไป อาจทำให้บางคนนึกถึง Raspberry Pi แต่มาพร้อมกับพอร์ต Fast Ethernet 2 พอร์ตและพอร์ต USB 2.0 จำนวน 1 พอร์ต เราได้เขียนบทความเกี่ยวกับ system-on-modules หลาตัวที่ใช้โปรเซสเซอร์ NXP i.MX 93 Cortex-A55/M33 AI ซึ่งบางรุ่นออกแบบมาให้คอนเนกเตอร์แบบ high-density board-to-board  เช่น Compulab UCM-IMX93 และ Forlinx FET-MX9352 -C, บางรุ่นออกแบบมาให้คอนเนกเตอร์แบบ SO-DIMM เช่น VAR-SOM-MX93 และบางรุ่นออกแบบมาให้บัดกรีบนบอ […]

เปิดตัว MediaPipe สำหรับ Raspberry Pi – โซลูชันด้าน Machine Learning บนอุปกรณ์แบบ No-code/Low-code

MediaPipe Studio Raspberry Pi 4

Google ได้เปิดตัว MediaPipe โซลูชันด้าน Machine Learning บนอุปกรณ์แบบไม่ต้องเขียนโค้ด/เขียนโค้ดเพียงเล็กน้อยสำหรับ Raspberry Pi (และ iOS SDK) หลังจากเปิดตัวอย่างเป็นทางการในเดือนพฤษภาคมสำหรับ Android, เว็บ และ Python แต่โครงการนี้เริ่มต้นขึ้นมาหลายปี ที่เราเคยเขียนบทความเกี่ยวกับโครงการ MediaPipe ครั้งแรกในเดือนธันวาคม 2019 การพอร์ตเข้าสู่ Raspberry Pi เป็นการอัปเดต Python SDK และรองรับการจำแนกเสียง, การตรวจจับใบหน้า, การตรวจจับวัตถุ และการประมวลผลภาษาธรรมชาติต่างๆ MediaPipe Solutions ประกอบด้วย 3 ส่วน: MediaPipe Tasks (low-code) เพื่อสร้างและปรับใช้ไปป์ไลน์โซลูชัน ML แบบ end-to-end ที่กำหนดเองโดยใช้ API และไลบรารีที่สามารถใช้ได้หลายแพลตฟอร์ม MediaPipe Model Maker (low-code) เพื่อสร้างโมเดล ML ที่กำหนดเอง Media […]

บอร์ด Arduino Nano ESP32 ที่ใช้ ESP32-S3 รองรับการเขียนโปรแกรม Arduino และ MicroPython

Arduino Nano ESP32

Arduino Nano ESP32 เป็นบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ใช้ ESP32-S3 รองรับการเชื่อมต่อ WiFi และ Bluetooth ออกแบบมาสำหรับแอปพลิเคชัน IoT สำหรับคนที่เริ่มต้นเและกรณีการใช้งานระดับองค์กร บอร์ด Nano รุ่นใหม่มาพร้อมกับ PSRAM 8 MB และที่เก็บข้อมูลแฟลช 16 MB และสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Arduino หรือ MicroPython นี่ไม่ใช่บอร์ด ESP32 ตัวแรกจาก Arduino มีบอร์ด Arduino Nano RP2040 Connect ที่ใช้ Raspberry Pi RP2040 MCU กับโมดูล ESP32 ของ u-Blox และยังมี Arduino UNO R4 WiFi ที่ใช้ Renesas RA4M1 Arm Cortex-M33 MCU กับ ESP32- โมดูล S3-MINI-1 แต่ Arduino Nano ESP32 นั้นแตกต่างออกไปเนื่องจากเป็นบอร์ด ESP32 ตัวแรกจาก Arduino โดยที่ชิป Espressif เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวเดียวบนบอร์ดและจัดการทั้งการเชื่อมต่อสื่อสารไร้สายและ GPIO สเปคของ […]

Particle เปิดตัว Photon 2 : บอร์ด IoT dual-band WiFi และ BLE ใช้ชิป Realtek RTL8721DM และเปิดตัวโมดูล Particle P2

Particle Photon 2

Particle ได้เปิดตัว Photon 2 เป็นบอร์ด IoT dual-band WiFi และ BLE  ที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ Realtek RTL8721DM Arm Cortex-M33 ความเร็ว 200 MHz และยังเปิดตัวโมดูล Particle P2 ที่ออกแบบมาเพื่อให้สามารถนำไปใช้งานร่วมกับผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ บอร์ด IoT WiFi “Spark Photon” รุ่นเดิมเปิดตัวในปี 2014 ที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32 และโมดูลสื่อสารไร้สาย BCM43362 แต่ตลาดและการเปลี่ยนชื่อบริษัทได้เปลี่ยนแปลงไป และตอนนี้ Particle ได้เปิดตัวบอร์ด Photon 2 และโมดูล P2 ที่ทันสมัยกว่าเดิม ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ Cortex-M33 WiFi & BLE พร้อมรองรับคุณลักษณะด้านความปลอดภัย เช่น Arm TrustZone สเปค Particle Photon 2 : Wireless MCU – Realtek RTL8721DM CPU – Arm Cortex-M33 core @ 200 MHz หน่วยความจำ – embedded SRAM 4.5MB ซึ่งมี 3072 KB ( […]