Orange Pi CM5 เป็นโมดูลทางเลือกของ Raspberry Pi CM4 (และ Raspberry Pi CM5 ที่จะมาในอนาคต) ที่ใช้โปรเซสเซอร์ Rockchip RK3588S octa-core Cortex-A76/A55 ที่รองรับ LPDDR4 สูงสุด 16GB และ eMMC flash 256GB เมื่อเทียบกับโมดูล Pi CM4 ที่จำกัดอยู่ที่ RAM 8GB และ flash 32GB เนื่องจาก Rockchip RK3588S มีอินเทอร์เฟสมากกว่า Broadcom BCM2711 ที่พบใน Raspberry Pi CM4 บริษัทจึงเพิ่มตัวเชื่อมต่อบอร์ดต่อบอร์ด 100 พินเพิ่มเติมพร้อมกับอินเทอร์เฟสต่าง ๆ เช่น USB 3.0 เดิม, SATA III, CAN Bus และอินเทอร์เฟส PCIe 2.0 x1 เพิ่มเติมอีกหนึ่งชุด รวมเป็นสองชุด Orange Pi CM5 สเปคของ Orange Pi CM5: SoC – โปรเซสเซอร์ Rockchip RK3588S octa-core พร้อมด้วย 4x CortexA76 cores @ สูงสุด 2.4GHz, 4x CortexA55 core @ 1.8GHz GPU Arm Mali-G610 MP4 “Odin” […]
RAUC เป็นโซลูชันอัปเดต OTA แบบโอเพ่นซอร์สสำหรับ Embedded Linux ถูกพอร์ตมาใช้กับบอร์ด Rock Pi 4
RAUC โซลูชันการอัปเดตแบบไร้สาย OTA (Over-The-Air) แบบโอเพ่นซอร์สที่รองรับการอัปเดตแบบ A/B สำหรับระบบปฏิบัติการ embedded Linux ถูกพอร์ตมาใช้กับบอร์ด Radxa Rock Pi 4 Model B SBC ที่ใช้ Rockchip OP1 SoC โดย Leon Anavi เป็นผู้ดูแลโครงการซึ่งทำงานให้กับ Konsulto Group ถ้าคุณใช้ระบบปฏิบัติการ Linux อย่างเช่น Ubuntu, Debian หรือ Fedora แพ็กเกจและอิมเมจระบบปฏิบัติการจะถูกจัดการโดยอัตโนมัติหรือด้วยการรันคำสั่งไม่กี่คำสั่ง วิศวกรซอฟต์แวร์ที่สร้าง embedded Linux images ที่กำหนดเองโดยใช้ Yocto Project หรือ Buildrootจะต้องจัดการเอง แต่มีโซลูชันอัปเดตเฟิร์มแวร์ OTA แบบโอเพนซอร์ส เช่น Mender, Balena, Torizon, OSTree , Snap หรือ RAUC RAUC (Robust Auto-Update Controller) และได้รับการยอมรับจากชุมชนในเวลาต่อมา เป็นไคลเอ็นต์การอัป […]
บอร์ดพัฒนา Elecrow LR1262 ที่ใช้ Raspberry Pi RP2040 และโมดูล SX1262 LoRaWAN พร้อมหน้าจอ LCD 1.8 นิ้ว
บอร์ดพัฒนา Elecrow LR1262 ที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 และโมดูล LR1262 LoRaWAN ของบริษัทที่ใช้ STM32WL LoRa SoC พร้อมรองรับคลื่นความถี่ 868 และ 915 MHz และมีหน้าจอ LCD ขนาด 1.8 นิ้ว บอร์ดยังมี RS485 terminal block สำหรับเชื่อมต่อเซนเซอร์และactuators, คอนเนกเตอร์และ headers สำหรับการขยายเพิ่มเติม, ปุ่มสำหรับการควบคุมของผู้ใช้ และไฟ LED สำหรับการดีบัก/การตรวจสอบ สเปคบอร์ดพัฒนา Elecrow LR1262: MCU – ไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 dual-core Arm Cortex-M0+ @ 133MHz พร้อม SRAM 264KB ในตัว ที่เก็บข้อมูล – แฟลช 4MB จอแสดงผล – จอ LCD TFT ขนาด 1.8 นิ้ว 128×160 ที่ใช้ไดรเวอร์ ST7735S 4-wire SPI การเชื่อมต่อไร้สาย – โมดูล Elecrow LR1262 LoRaWAN MCU – ไมโครคอนโทรลเลอร์ STMicro STM32WLE5CCU6 Arm Cortex- […]
Olimex NEO6502 : คอมพิวเตอร์ย้อนยุค ที่ใ่ช้ W65C02 และ Raspberry Pi RP2040 พร้อมพอร์ต HDMI, USB และอื่นๆ
Olimex ได้เปิดตัว NEO6502 เป็นคอมพิวเตอร์ย้อนยุค (retro computer) แบบฮาร์ดแวร์โอเพ่นซอร์ส ที่ออกแบบมาเพื่อการเรียนรู้และความบันเทิง และยังสามารถใช้สำหรับเล่นเกม Retroได้ บอร์ดนี้มีความเป็นเอกลักษณ์มาก เนื่องจากสร้างขึ้นโดยใช้ MPU 65C02 และ MCU Raspberry Pi Pico RP2040 ในรูปแบบโปรเซสเซอร์คู่ MOS6502 จัดการโปรแกรมจำลอง Apple II, Oric และ Commodore 64 emulators ในขณะที่ RP2040 จัดการกับส่วนอื่น ๆ ทั้งหมดรวมถึงเอาต์พุตวิดีโอ HDMI (DVI) โดยใช้โครงการ PicoDVI เราเคยเขียนบทความเกี่ยวกับชุดคอมพิวเตอร์ย้อนยุคที่คล้ายกัน เช่น CERBERUS 2100, TinyLlama x86, DevTerm with ClockworkPi v3.14, Olimex AgonLight2 และอื่นๆ สเปคของบอร์ด Olimex NEO6502 โปรเซสเซอร์ Western Design Center W65C02S ไมโครโปรเซสเซอร์ 8 บิต @ 6.25 MHz พร้อม […]
FourThirdsEye : โมดูลกล้องโอเพนซอร์ส ที่ใช้เซนเซอร์ IMX294 ความละเอียด 10.7MP สำหรับ Raspberry Pi 5/CM4
โครงการ FourThirdsEye ของ Will Whang เป็นโมดูลกล้องฮาร์ดแวร์โอเพนซอร์สที่ออกแบบมาสำหรับ Raspberry Pi 5 SBC และ Raspberry Pi Compute Module 4 SoM โดยใช้เซนเซอร์ภาพ CMOS Sony IMX294 Type 4/3 และช่วงไดนามิกที่กว้างขึ้น (ขนาดพิกเซล 4.63 ไมโครเมตร) เมื่อเทียบกับโมดูลกล้อง Raspberry Pi ที่มีอยู่ Will อ้างว่าโมดูลนี้เหมาะสมอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่ชื่นชอบการถ่ายภาพ นักพัฒนา และผู้สร้างสรรค์ที่ต้องการกล้องที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นสำหรับโครงการ Raspberry Pi สเปคของโมดูลกล้อง FourThirdsEye:: เซนเซอร์ Sony IMX294 ขนาดภาพที่ได้ – แนวทแยง 21.63 มม. (Type 4/3) อัตราส่วน 17:9 และ 4:3 จำนวนพิกเซลที่ใช้งานจริง 4168 (H) × 2176 (V) ประมาณ 8.93 ล้านพิกเซล (อัตราส่วน 17:9) 3792 (H) × 2824 (V) ประมาณ 10.71 ล้านพิกเซล (อัตราส่วน 4:3) ขนาดเ […]
Pico Display Base Board : บอร์ดฐานสร้างจอแสดงผล LCD ที่ใช้ Raspberry Pi Pico
Pico Display Base Board เป็นบอร์ดฐานที่แผงวงจรพิมพ์จาก Applying Microcontroller Solutions ที่ให้แพลตฟอร์มสำหรับการสร้างโปรเจกต์จอแสดงผลที่ใช้ Raspberry Pi Pico เป็นการทำงานร่วมระหว่างบอร์ด Raspberry Pi Pico และหน้าจอ LCD ที่ใช้คอนโทรลเลอร์จอแสดงผล Solomon Systech SSD1963 Pico Display Base Board มี header 40-pin (Display Port) ที่เชื่อมต่อกับ GPIO บน Pico เพื่อให้มีอินเทอร์เฟสแบบขนาน (parallel) 8 บิตสำหรับจอแสดงผลและSPI pins สำหรับหน้าจอสัมผัสและ SD card ในตัว บอร์ดฐานรองรับจอแสดงผลตั้งแต่ 4.3 นิ้ว ถึง 7 นิ้ว จอแสดงผลที่มีขนาดไม่เกินห้านิ้วสามารถใช้พลังงานโดยตรงจาก Pico, Jumper block บนบอร์ดสามารถใช้เพื่อส่งพลังงานไปยังจอ LCD และเชื่อมต่อชิปแฟลชของจอแสดงผลไปยัง Pico ได้ พอร์ต USB-C บนบอร์ดสามารถให้แหล่งพลังงานท […]
อะแดปเตอร์ Ethernet 5Gbps PCIe และ M.2 ที่ใช้ RealTek RTL8126 ราคาเริ่มต้นที่ประมาณ 400 บาท
เมื่อปีที่แล้วมีการเปิดตัว คอนโทรลเลอร์ RealTek RTL8126(-CG) PCIe 3.0 x1 to 5GbE ที่ใช้พลังงานต่ำที่งาน Computex 2023 และตอนนี้มีโมดูล M.2 และ PCIe card ที่จำหน่ายในราคาที่เป็นคู่แข่งกันได้ โมดูลแรกที่ดึงดูดความสนใจของเราคือ”5000Mbps Networking Card B+M Key to PCIe Adapter” จาก STDEV ขายในราคา $27(~990฿) บน Amazon (มีส่วนลด 7%) เป็นโมดูล M.2 PCIe ที่มาพร้อมกับสายริบบอนที่เชื่อมต่อกับบอร์ดที่มีพอร์ต RJ45 ติดตั้งอยู่บน PCIe bracket แต่มีข้อมูลที่จำกัด และเพิ่งโพสต์ลงใน Amazon เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน ดังนั้นจึงยังไม่มีรีวิวจากผู้ใช้, แต่มี Jiri Brejcha แจ้งให้เราทราบว่าเขาได้ทดสอบการ์ดที่คล้ายกัน (อาจเป็นตัวเดียวกัน) จาก Iocrest กับ Raspberry Pi 5 และ Pineboards HatDrive BM1 HAT+ ซึ่งสามารถทำความเร็วในก […]
รีวิวเริ่มต้นใช้งาน Maker Uno RP2040 ด้วย CircuitPython พร้อมกับ Micro Servo Motor, Maker Soil Module, โมดูล Ultrasonic
หลังจากที่เราได้ดูสเปคของ Cytron Maker Uno RP2040 และใช้งานบนโปรแกรม Arduino IDE พร้อมเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ใช้งานง่ายเหมาะสำหรับสำหรับผู้เริ่มต้นและผู้ใช้ขั้นสูงที่สามารถนำไปต่อยอดพัฒนาต่อไป วันนี้เราจะทดลองใช้บอร์ด Maker Uno RP2040 พร้อมใช้งานบน Thonny IDE ด้วย CircuitPython โดยเริ่มจากติดตั้งโปรแกรม Thonny IDE แล้วทำการเชื่อมต่อบอร์ด, การเขียนโปรแกรม Blink ไฟกระพริบ, ไฟ LED แบบ RGB, กดปุ่มไฟติด, buzzer ทำให้มีเสียง, ใช้งานร่วมกับ Micro Servo Motor, อ่านค่าเซนเซอร์วัดความชื้นด้วย Maker Soil Module และวัดระยะห่างวัดถุด้วยโมดูลเซนเซอร์ Ultrasonic HC-SR04 การติดตั้งโปรแกรม Thonny IDE โดยการทดสอบกับบอร์ด Maker Uno RP2040 จะใช้ Thonny เป็น Python IDE ระดับสำหรับเริ่มต้น ซึ่งออกแบบมาเหมาะสำหรับการเรียนรู้และกา […]