ชิป ESP32-H4 SoC ที่ใช้ RISC-V dual-core เน้นประหยัดพลังงานรองรับ 802.15.4 และ Bluetooth 5.4 LE

ESP32-H4 block diagram

Espressif Systems ได้ประกาศ ESP32-H4 อย่างเป็นทางการ เป็นชิปไมโครคอนโทรลเลอร์ไร้สาย ที่ใช้ RISC-V dual-core 32-bit ใช้พลังงานต่ำ พร้อมรองรับ 802.15.4 และ Bluetooth 5.4 LE หลังจากเปิดตัวในงาน CES 2024 เป็นชิป Espressif ตัวแรกที่รองรับ Bluetooth 5.4 LE ซึ่งรุ่นก่อน เช่น ESP32-H2 หรือ ESP32-C6 จะรองรับ Bluetooth 5.0/5.2 เท่านั้น นอกจากการรองรับ BLE 5.4 แล้วชิป ESP32-H4 รุ่นใหม่ยังเป็นรุ่นวิวัฒนาการของ ESP32-H2 single-core พร้อมการรองรับ PSRAM (สูงสุด 4MB ในตัว), มี GPIO เพิ่ม (จาก 24 เป็น 36), Touch sensing GPIO และคุณลักษณะด้านความปลอดภัยพิเศษ เช่น power glitch detector ที่พบในใน ESP32-C61 ที่เพิ่งประกาศเมื่อเร็วๆ นี้ สเปคของ ESP32-H4: CPU –Dual-core 32-bit RISC-V core (สูงสุด 96 MHz) RAM – 320KB SRAM, PSRAM ตัวเ […]

โมดูล u-blox ALMA-B1 และ NORA-B2 ใช้ชิป SoC ของ Nordic nRF54H20 และ nRF54L15 รองรับ Bluetooth 5.4 LE

u blox ALMA B1 NORA B2 modules

u-blox ผู้ให้บริการโซลูชันการสื่อสารไร้สาย เปิดตัวโมดูลใหม่ 2 ตัวในกลุ่มผลิตภัณฑ์ Bluetooth LE ด้วยโมดูล ALMA-B1 และ NORA-B2 ที่ใช้ชิป nRF54 ไร้สายพลังงานต่ำจาก Nordic Semiconductor โมดูลทั้งสองอยู่เป็นแบบพกพาและประหยัดพลังงาน และรองรับ Bluetooth 5.4 และ 802.15.4 (Thread, Matter, Zigbee) โมดูล ALMA-B1 ใช้ชิป nRF54H20 SoC และ NORA-B2 BLE ใช้ชิป nRF54L15 SoC ที่สามารถนำไปใช้กับอุปกรณ์ IoT ที่มีพลังการประมวลผลสำหรับ edge computing และ machine learning โดยไม่จำเป็นต้องใช้ส่วนประกอบภายนอก u-blox กล่าวว่าโมดูล ALMA-B1 ให้ “พลังการประมวลผลมากกว่าโมดูล Bluetooth LE รุ่นก่อนเป็นสองเท่า” และสามารถแทนที่ไมโครคอนโทรลเลอร์ทั่วไปในโซลูชันขนาดเล็กได้ นอกจากนี้ NORA-B2 ยังสามารถ “ใช้พลังงานลดลงถึง 50% เมื่อเทียบกับ […]

Avaota A1 – บอร์ด SBC ที่เป็น Open-source hardware ใช้ชิป Allwinner T527 octa-core Cortex-A55 SoC

Avaota A1 open source hardware Allwinner T527 SBC

เมื่อไม่นานนี้เราเคยเขียนบทความเกี่ยวกับบอร์ดพัฒนาทางอุตสาหกรรม MYiR Tech MYD-LT527 ที่ใช้ชิป Allwinner T527 octa-core Cortex-A55 AI SoC และ Orange Pi กำลังพัฒนาบอร์ดเพื่อให้รองรับ mainline Linux โดย Avaoto A1 มีตัวเลือกที่มีฮาร์ดแวร์ Allwinner T527 อีกตัวหนึ่งพร้อมการออกแบบ บอร์ด SBC ที่เป็น Open-source hardware บอร์ดนี้มาพร้อม RAM สูงสุด 4GB, eMMC flash ขนาด 128GB, เอาต์พุตวิดีโอ HDMI และ DisplayPort, พอร์ต Gigabit Ethernet 2 พอร์ต, โมดูล WiFi 6 และ Bluetooth 5.4, พอร์ต USB,ช่อง audio jack 3.5 มม. และ GPIO header 40 ขาสำหรับขยาย สเปคของ Avaota A1: SoC – Allwinner T527 (หรือ Allwinner A527 พร้อมบอร์ด Avaota A1C ไม่แน่ใจว่าทั้งสองมีความแตกต่างกันอย่างไร) CPU โปรเซสเซอร์ Arm Cortex-A55 แบบ Octa-core ที่มี 4 คอร์ […]

Renesas R9A02G021 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวแรกที่ออกแบบ CPU core เองที่ใช้ RISC-V 32 บิต

Renesas R9A02G021 RISC V MCU

Renesas R9A02G021 เป็นกลุ่ม ไมโครคอนโทรลเลอร์ ตัวแรกของบริษัทที่ออกแบบ CPU core ของตนเอง ที่ใช้ RISC-V 32 บิตพร้อม 3.27 CoreMark/MHz, รองรับ RV32I base พร้อมส่วนขยาย M/A/C/B และฟีเจอร์อื่นๆ เช่นระบบ Stack Monitor Register, หน่วยการทำนายสาขาแบบไดนามิก และอินเทอร์เฟสดีบัก JTAG Renesas ผลิตชิป RISC-V ตั้งแต่ปี 2022 เช่นไมโครโปรเซสเซอร์ RZ/Five 64 บิต และ R9A06G150 32-bit voice control ASSP ซึ่งทั้งหมดนี้ใช้ RISC-V cores ของAndes แต่ตอนนี้เนื่องจากบริษัทได้ออกแบบ core 32 บิตของของตนเอง ไมโครคอนโทรลเลอร์ Renesas RISC-V 32 บิต และมีแนวโน้มที่จะใช้ในอนาคตด้วย โดยเริ่มต้นที่ R9A02G021 กลุ่ม MCU สำหรับการใช้งานทั่วไป คุณสมบัติและสเปคที่สำคัญของ Renesas R9A02G021: RISC-V Core สถาปัตยกรรมของชุดคำสั่ง Renesas RISC-V ( RV32 […]

Duo S บอร์ด SBC ที่ใช้ Sophgo SG2000 SoC (RISC-V/Arm) รองรับ Ethernet, WiFi 6, และ Bluetooth 5

Duo SBC Sophgo SG2000 Ethernet WiFi 6 Bluetooth

Duo S ของ Shenzhen MilkV Technology เป็นบอร์ด SBC ขนาดเล็กที่ใช้ Sophgo SG2000 Arm Cortex-A53 และ RISC-V SoC ที่ความเร็ว 1 GHz พร้อม DDR3 (SiP) 512MB , Fast Ethernet, การเชื่อมต่อ WiFi 6 และ Bluetooth 5 และโดยมีสวิตช์ในการเลือกสถาปัตยกรรม Arm หรือ RISC-V ก่อนที่จะเปิดเครื่อง เราเคยกล่าวถึงบอร์ด SG2002 (RISC-V/Arm) ที่มี RAM 256MB ได้แก่ LicheeRV Nano และ Duo 256M แต่สำหรับผู้ที่ต้องการหน่วยความจำมากขึ้น Duo S มีอีกทางเลือกหนึ่งที่มีคอนเกนเตอร์ MIPI CSI 2-lane สองตัว นั่นคือ พอร์ต USB 2.0 host และ pin-headers 26 ขา 2 แถวสำหรับการขยาย ฟอร์มแฟคเตอร์นี้ทำให้เรานึกถึง NanoPi NEO ของ FriendlyELEC และตระกูลที่ใช้โปรเซสเซอร์ Allwinner ที่เปิดตัวไปแล้ว สเปคของ Duo S: SoC – SOPHGO SG2000 Main core – RISC-V C906 64 บิต  ห […]

Efinix Titanium Ti375 FPGA พร้อม RISC-V block แบบ Quad-Core, PCIe Gen 4, 10GbE

Efinix Titanium Ti375 RISC V FPGA SoC

Efinix Titanium Ti375 SoC ได้รวมเทคโนโลยี high-density และ low-power Quantum compute fabric พร้อมกับ RISC-V block 32-บิต 4 คอร์ และมีคุณสมบัติ LPDDR4 DRAM controller, MIPI D-PHY สำหรับการแสดงผลหรือกล้อง, และ รับส่งสัญญาณ (transceivers) ที่มีความเร็ว 16 Gbps ซึ่งสามารถเปิดใช้งาน PCIe Gen 4 และอินเทอร์เฟส 10GbE ได้ Titanium Ti375 ยังประกอบด้วย logic elements 370K, DSP blocks 1.344, SRAM blocks 10-Kbit 2,688, และ embedded memory 27.53 Mbits รวมถึง DSP blocks ที่ถูก optimize สำหรับการประมวลผลและงาน AI และ XLR (eXchangeable Logic and Routing) cells สำหรับสำหรับลอจิกและการเชื่อมต่อสัญญาณ สเปคของ Efinix Titanium Ti375: FPGA compute fabric 370,137 logic elements (LEs) 362,880 eXchangeable Logic and Routing (XLR) cells […]

TinyVision – บอร์ด Linux ขนาดเล็กที่ใช้ Allwinner V851S/V851S3 สำหรับแอปพลิเคชันการมองเห็น

tinyvision board

บอร์ดพัฒนา TinyVision ไม่ใช่ TinyVision.ai แต่เป็นบอร์ด Computer Vision จาก YuzukiTsuru นักพัฒนาชาวจีน โดยใช้ Allwinner V851S หรือ V851S3 และได้โฆษณาว่าเป็น “โซลูชันครบวงจรที่รวมอยู่ในบอร์ดเดียวสำหรับเมนบอร์ด Linux, IPC, เซิร์ฟเวอร์, เราเตอร์ และอื่น ๆ” บอร์ดมาพร้อมฟีเจอร์ต่างๆ เช่น Cortex-A7 core ที่ทำงานที่ความเร็ว 1200MHz, อินพุต MIPI CSI 2 ช่อง และ Independent image signal processor (ISP) ที่แยกออกมา สามารถรองรับความละเอียดสูงสุด 2560 x 1440 ในรูปแบบขนาดเล็ก สเปคของ TinyVision: โปรเซสเซอร์ – Allwinner V851SE / V851s3 พร้อม Cortex-A7 core @ 1200MHz และ RISC-V E907GC core @ 600MHz NPU: 0.5 TOPS (tera operations ต่อวินาที) ที่ความแม่นยำ INT8 หน่วยความจำ – 64MB DDR2 (สำหรับ V851se), 128MB DDR3L (สำห […]

เปิดตัว Linux 6.8 – การเปลี่ยนแปลงหลักของสถาปัตยกรรม Arm, RISC-V และ MIPS

Linux 6.8 release

Linus Torvalds ได้ประกาศเปิดตัว  Linux 6.8 บน Linux kernel mailing list (LKML) เมื่อประมาณ 2 เดือนทีผ่านมาได้เปิดตัว Linux 6.7 โดยมี bcachefs ระบบ filesystem, มีการปรับปรุงประสิทธิภาพในการจัดคิวแบบ Fair Queuing เพื่อให้ระบบเครือข่ายมีประสิทธิภาพมากขึ้น, เพิ่มคุณสมบัติใหม่และการปรับปรุงสำหรับ perf profile tool, สถาปัตยกรรม LoongArchได้รับการรองรับด้วย KVM, ะการยกเลิกการรองรับสถาปัตยกรรม Itanium (ia64) ของ Intel และมีการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ อีกมากมาย   การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญใน Linux 6.8 รองรับไดร์ฟเวอร์กราฟฟิค Intel Xer ซึ่งมีเป้าหมายที่จะแทนที่ไดรเวอร์ i915 เก่าสำหรับ GPU Intel ใหม่ ยังอยู่ช่วงทดลอง แต่สามารถเปิดใช้งานได้บนแพลตฟอร์ม Intel Tiger Lake และรุ่นใหม่กว่าได้แล้ว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและการทดสอบ […]