รีวิว UP 4000 : x86 SBC – Part 1 แกะกล่องและลองใช้งาน

UP 4000 SBC review

AAEON UP 4000 เป็นคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยวพร้อมโปรเซสเซอร์ Apollo Lake ขนาดจิ่วเท่ากับขนาดของบัตรครดิตหรือ Raspberry Pi, UP 4000 SBC ออกแบบมาเพื่อระบบอัตโนมัติ, หุ่นยนต์, ป้ายดิจิตอล และแอปพลิเคชันอื่นๆ ใช้งานในพื้นที่จำกัดใช้โปรเซสเซอร์ x86 บริษัทได้เผยแพร่ Phoronix benchmarks ที่เปรียบเทียบ UP 4000 SBC กับ Raspberry Pi 4, NVIDIA Jetson Nano และบอร์ด UP รุ่น original แต่เนื่องจากไม่มีอะไรดีไปกว่าการประเมินของบุคคลที่สาม,บริษัท AAEON จึงส่งตัวอย่างมาให้ CNX Software เพื่อทำการทดสอบเพิ่มเติม แกะกล่อง UP 4000 SBC บอร์ดมีหลากหลายรุ่น และฉันได้รับ UP-APL03X7F-A10-0464 SKU พร้อม RAM 4GB, แฟลช eMMC 64Gb และโปรเซสเซอร์ Intel Atom x7-E3950 quad-core ในชุดประกอบด้วยบอร์ดและคู่มือความปลอดภัยหลายภาษา (เช่น อธิบายว่าคุณไม่คว […]

รีวิว Khadas Edge2 Pro – Rockchip RK3588S SBC ทดสอบกับ Ubuntu 22.04

Khadas Edge2 Ubuntu 22.04

เรามีตัวอย่างของคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยว Khadas Edge2 ที่ใช้โปรเซสเซอร์ Rockchip RK3588S octa-core Cortex-A76/A55 และตอนนี้บอร์ดเปิดตัวอย่างเป็นทางการแล้ว วันนี้เราสามารถโพสต์รีวิวบอร์ดของเรากับการทดสอบ Ubuntu 22.04 และเราจะทดสอบกับ Android 12 ในบทความต่อไป Khadas Edge2 Pro พร้อมอุปกรณ์เสริม Khadas Edge2 มีสองรุ่น คือ Basic และ Pro บอร์ดที่เราได้รับเป็น Edge2 Pro SBC พร้อม RAM ขนาด 16GB และแฟลช 64GB ที่มาพร้อมกับเสาอากาศ WiFi 2 อัน และบริษัทยังได้ส่ง fanink แบบบาง (low-profile) และ thermal pad เพื่อระบายความร้อนด้วย ในทางทฤษฎีจะเป็นทางเลือก แต่ในทางปฏิบัติมันเป็นสิ่งจำเป็น เนื่องจากในขณะที่บอร์ดทำงานจะไม่ร้อนมาก แต่ก็ยังต้องการฮีทซิงค์เพื่อป้องกันความร้อนสูงเกินไปและการควบคุมปริมาณ พัดลมอาจไม่จำเป็นจริงๆ ตามที่เร […]

Khadas Edge2 : SBC บางเฉียบ ที่ใช้โปรเซสเซอร์ Rockchip RK3588S

Khadas-Edge2-SBC

ตามที่ได้เปิดตัว Khadas VIM1S บริษัทยังได้เตรียมที่จะเปิดตัวคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยว Khadas Edge2 พร้อมโปรเซสเซอร์ Rockchip RK3588S octa-core Cortex-A76/A55 และมีความบางอยู่ที่ 5.7 มม. (ก่อนที่จะติดตั้งฮีทซิงค์ ) บอร์ด Khadas Edge2 มีฟอร์มแฟกเตอร์คล้ายกับบอร์ด Khadas Edge รุ่นเดิม ที่ใช้โปรเซสเซอร์ Rockchip RK3399 แต่มีบางส่วนที่หายไปคือ ขั้วต่อคอนเน็ตเตอร์ขอบหายไป จึงไม่สามารถใช้เป็นระบบในโมดูล (system-on-module) เดียวได้ แต่ยังเป็น Arm SBC ที่บางที่สุดและทรงพลังที่สุด ข้อมูลสเปคของ Khadas Edge2 Basic/Pro: SoC – Rockchip รุ่น RK3588S CPU – โปรเซสเซอร์ Octa-core พร้อม Cortex-A76 จำนวน 4 คอร์ที่ 2.25 GHz, Cortex-A55 จำนวน 4 คอร์ที่ 1.8 GHz GPU – หน่วยประมวลผลภาพ (GPU) Arm Mali  G610MC4 AI accelerator – 6TOPS NPU V […]

Radxa CM5 – โมดูล Rockchip RK3588S ทางเลือก Raspberry Pi CM4

Radxa CM5

โมดูล Radxa ROCK 5 (หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ Radxa CM5) โมดูลทางเลือกของ Raspberry Pi CM4 โดยใช้ Rockchip RK3588S octa-core Cortex-A76/A55 SoC ที่ทรงพลังกว่า โดยเหมือนกับ Raspberry Pi Compute Module 4 ที่มีฟอร์มแฟคเตอร์ขนาด 55 x 40 มม. แต่แทนที่จะใช้ ตัวเชื่อมต่อระหว่างบอร์ดกับบอร์ด 2 ชุด (ชุดละ 100 พิน) แต่ Radxa CM5 นี้มี 3 ชุด (ชุดละ 100 พิน) เพื่อรองรับ I/O เพิ่มเติมจากโปรเซสเซอร์ Rockchip, ที่เหมือนกับ Radxa CM3 ที่ติดตั้งโปรเซสเซอร์ Rockchip RK3566 สเปคของ Radxa CM5: SoC – โปรเซสเซอร์ Rockchip RK3588S 8 คอร์ พร้อม Cortex‑A76 4 คอร์ @ สูงสุด 2.4GHz, Cortex‑A55 4 คอร์ ประมวลผลที่ 1.8 GHz หน่วยประมวลผลภาพ (GPU)  Arm Mali-G610 MP4 “Odin” การถอดรหัสวิดีโอ – 8Kp60 H.265, VP9, ​​AVS2, 8Kp30 H.264 AVC/MVC, 4Kp6 […]

Khadas VIM1S : SBC แบบบางที่ใช้ Amlogic S905Y4 Cortex-A35 4 คอร์

Khadas VIM1S

Khadas VIM1S เป็นคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยวขนาดเล็ก แบบบาง ที่ใช้โปรเซสเซอร์ Amlogic S905Y4 Cortex-A35 จำนวน 4 คอร์ โดยเป็นรุ่นอัพเกรดของ Khadas VIM SBC ที่ใช้ Amlogic S905X ที่เปิดตัวในปี 2559 และได้เปลี่ยนชื่อเป็น Khadas VIM1 Khadas ได้เปิดตัวคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยวใหม่สองตัว: Khadas VIM1S แบบบางที่มี S905Y4 SoC และบอร์ด Khadas Edge2 ที่ทรงพลังที่สุดที่ติดตั้งโปรเซสเซอร์ Rockchip รุ่น RK3588S Cortex-A76/A55 จำนวน 4 คอร์ ฉันได้รับทั้งสองอย่างอย่างที่คุณเห็นจากภาพด้านบนแล้ว 🙂 ฉันได้รับอนุญาตให้เขียนเฉพาะข้อมูลสเปคที่ให้เปิดเผยต่อสาธารณะเท่านั้น  ดังนั้นวันนี้ฉันจะแนะนำ Khadas VIM1S ซึ่งดูเหมือนกับบอร์ด VIM1 ข้อมูลสเปค Khadas VIM1S พร้อมไฮไลท์เป็นตัวหนาแสดงความแตกต่างกับรุ่น VIM1 Pro: SoC – Amlogic S905Y4 ใช้สถ […]

MangoPi MQ Quad: SBC ที่ใช้ Allwinner H616 ตามฟอร์มแฟกเตอร์ Raspberry Pi Zero W

MangoPi MQ Quad Allwinner H616 SBC

MangoPi MQ Quad เป็นคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยวที่ใช้ Allwinner H616 แบบ Quad-core Arm Cortex-A53  ตามฟอร์มแฟกเตอร์ของ Raspberry Pi Zero W และ MangoPi MQ Pro RISC-V SBC ที่ใช้โปรเซสเซอร์ Allwinner D1 ที่ออกมาก่อนหน้านี้ MangoPi MQ Quad มาพร้อมกับ RAM 1GB, เอาต์พุต mini HDMI, พอร์ต USB Type-C สองพอร์ต, การเชื่อมต่อ WiFI 4 และ Bluetooth, microSD card รวมถึง GPIO ที่รองรับ Raspberry Pi 40 พินและตัวเชื่อมต่อ FPC พร้อม USB, อีเธอร์เน็ต และ GPIO อื่นๆ สำหรับการขยาย สเเปคของ MangoPi MQ Quad: SoC – Allwinner H616 quad-core Cortex-A53 @ 1.5GHz พร้อม Mali-G31 MP2 GPU พร้อม OpenGL 3.2, Vulkan 1.1, รองรับ OpenCL 2.0 API หน่วยความจำ – 1GB DDR3L ที่เก็บข้อมูล – ช่องเสียบ  MicroSD card, footprint สำหรับแฟลช SPI (ที่ด้านล่างของบอร์ […]

รีวิว Melgeek Mojo84: คีย์บอร์ด mechanical ไร้สายและ USB

mojo-84-Mechanical-keyboard

MelGeek เปิดตัวคีย์บอร์ด Mojo84 เป็นคีย์บอร์ด Mechanical รองรับการเชื่อมต่อ 3 แบบ คือ USB type-c, Wireless 2.4 GHz. และ Bluetooth 5.1 และรองรับทุกระบบปฏิบัติการ Windows, Android, MacOS, IOS และ Linux หลังจากที่เขาประสบความสำเร็จกับคีย์บอร์ด Mojo68 ถ้าดูภายนอกแล้วความแตกต่างคือเพิ่มปุ่มฟังก์ชั่น 16 ปุ่ม ฉันต้องขอขอบคุณทาง MelGeek ที่ได้ส่ง Mojo84 คีย์บอร์ด Mechanical ไร้สาย และ USB มาให้ฉันได้รีวิว แกะกล่อง Melgeek Mojo84 คีย์บอร์ด Mechanical เรามาดูแพ็กเกจของ Melgeek Mojo84 คีย์บอร์ด Mechanical กันก่อน กล่องเป็นสีส้ม “THIS IS PLASTIC” เป็นสี plastic ด้านหลังกล่อง คีย์บอร์ด Mojo84 จะมีสเปคบอกด้วย ชื่อสินค้า Mojo 84 Mechanical Keyboard, แบตเตอรี่ 4000MAH, วัสดุตัวเคสเป็น PC (Polycarbonate) เป็นพลาสติก […]

UP 4000 SBC คล้ายกับ Raspberry Pi พร้อมโปรเซสเซอร์ Intel Apollo Lake

UP-4000-SBC

AAEON ได้เปิดตัว UP 4000 SBC เป็นคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยวที่มีฟอร์มแฟคเตอร์และการจัดพอร์ตคล้ายกับ Raspberry Pi 2/3 แต่ขับเคลื่อนด้วยตัวเลือกโปรเซสเซอร์ x86 หลายแบบ ได้แก่ Intel Atom E3900 series, Celeron N3350 หรือ Pentium N4200 Apollo Lake series บอร์ด UP ตัวแรก เปิดตัวในปี 2558 เป็นอุปกรณ์ที่นำเสนอทางเลือก x86 แทน Raspberry Pi 2 ที่มีโปรเซสเซอร์ Intel Atom x5-Z8300/Z8350 “Cherry Trail” แต่ต่อมาบอร์ด “UP bridge the gap” ของบริษัทใช้ “Squared” ที่ใหญ่กว่าฟอร์มแฟคเตอร์ (85.6 x 90 มม.) หรือ “Xtreme” (122 x 120 มม.) ส่วน UP 4000 SBC กลับมาใช้ฟอร์มแฟคเตอร์ของบอร์ด UP ตัวแรก แต่เพิ่มประสิทธิภาพและการปรับปรุงคุณสมบัติต่างๆ สเปคของบอร์ด UP 4000 กับ UP AAEON กล่าวว่าเมื่อเทียบกับบอร์ด UP รุ่นก่อนแล้ว UP 4000 รุ่นใหม่สามา […]