NanoPi M6 – SBC และโซลูชัน HMI แบบ fanless มีหน้าจอสัมผัส 3.5 นิ้ว ที่ใช้ Rockchip RK3588S

NanoPi M6 SBC HMI solution

NanoPi M6 เป็นคอมพิวเตอร์บอร์ดเดียว (SBC) และคอมพิวเตอร์แบบ HMI (Human-Machine Interface) เป็นแบบ fanless มาพร้อมเคสโลหะ ที่มีหน้าจอสัมผัสแบบ capacitive ขนาด 3.5 นิ้วพร้อมความละเอียด 800×480 M6 มีหน่วยความจำ RAM แบบ LPDDR5 ความจุ 4GB ถึง 32GB รองรับ microSD, โมดูล eMMC flash และ SSD M.2 NVMe ที่สามารถบูตได้ มีพอร์ต HDMI 2.1 หนึ่งพอร์ต, คอนเนกเตอร์ MIPI DSI สองช่อง, คอนเนกเตอร์กล้อง MIPI CSI สองช่อง, Gigabit Ethernet, ช็อกเก็ต M.2 E-Key สำหรับ WiFi และ Bluetooth, และ GPIO header 30-pin สำหรับการขยายการใช้งาน พร้อมด้วยพอร์ตและฟีเจอร์อื่นๆ สเปคของ NanoPi M6: SoC – Rockchip RK3588S CPU – โปรเซสเซอร์ Octa-core พร้อม 4x Cortex-A76 cores @ สูงสุด 2.4 GHz, 4x Cortex-A55 cores @ สูงสุด 1.8 GHz GPU – Arm Mali-G610 GPU พร […]

รีวิว Radxa X4 Kit : บอร์ด SBC ที่ใช้ Intel N100 – แกะกล่องและติดตั้ง Ubuntu 24.04 (Part 1)

Radxa x4 SBC review

บริษัท Radxa เป็นบริษัทนวัตกรรมที่มุ่งเน้นในด้านซิงเกิ้ลบอร์ด ได้เปิดตัวคอมพิวเตอร์ซิงเกิ้ลบอร์ดที่มีการเลือกใช้โปรเซสเซอร์ Intel N100 แทนที่จะเป็น SOC แบบ Arm และมีไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 รวมอยู่ด้วยบนบอร์ดในชื่อ Radxa X4 ความน่าสนใจคือ Radxa X4 เป็นบอร์ดคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีฟอร์มแฟคเตอร์คล้ายกับบอร์ด Raspberry Pi 5 แต่มีความแตกต่างที่สำคัญ โดย Radxa X4 ใช้โปรเซสเซอร์ Intel “Alder Lake N” N100 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่าและรวมถึงมีการใช้งาน Raspberry Pi RP2040 ไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อใช้งานในการควบคุม GPIO จำนวน 40 พิน นอกจากนี้บอร์ดยังมาพร้อมกับการเชื่อมต่อแบบ M.2 M-key ที่รองรับ PCI Express 3.0 4-lane  และ Wi-Fi 6 ทำให้ Radxa X4 เป็นตัวเลือกที่น่าสนใจสำหรับผู้ที่ต้องการบอร์ดคอมพิวเตอร […]

Firefly EC-R3576PC FD : คอมพิวเตอร์แบบฝังตัวสำหรับ LLM ที่ใช้โปรเซสเซอร์ Rockchip RK3576

Firefly RK3576 Embedded Large Model Computer

Firefly EC-R3576PC FD ได้รับการอธิบายว่าเป็น “Embedded Large-Model Computer” ที่ใช้โปรเซสเซอร์ Rockchip RK3576 octa-core Cortex-A72/A53 พร้อมด้วย NPU 6 TOPS และรองรับ Large Language Models (LLM) เช่น Gemma-2B, LlaMa2-7B, ChatGLM3-6B หรือ Qwen1.5-1.8B เราเคยพูดถึงบอร์ด SBC ที่ใช้ ROC-RK3576-PC และยังออกแบบมาเพื่อรองรับโมเดล LLM ด้วย แต่ EC-R3576PC FD เป็นโซลูชันแบบครบวงจรที่สามารถใช้งานได้ทันที และคาดว่าจะมีประสิทธิภาพที่ดีเพราะมีการปล่อย RKLLM toolkit พร้อม NPU acceleration แต่มีข้อจำกัดบางประการในการใช้ RK3576 แทน RK3588 ซึ่งเราจะกล่าวถึงด้านล่าง สเปคของ Firefly EC-R3576PC FD: SoC – Rockchip RK3576 CPU 4x Cortex-A72 cores @ 2.2GHz, 4x Cortex-A53 cores @ 1.8GHz Arm Cortex-M0 MCU ที่ 400MHz GPU – ARM […]

Dusun DSOM-042R เป็นโมดูลที่ใช้ Rockchip RK3588M สำหรับงานด้าน AIoT ของยานยนต์

Rockchip RK3588M SoM

Dusun DSOM-042R เป็นโมดูล (system-on-module) ที่ใช้ Rockchip RK3588M ชิปประมวลผลของ AI ใช้งานในรถยนต์ พร้อม RAM 8GB และ eMMC flash 128GB สามารถทำงานได้ในช่วงอุณหภูมิ -40°C ถึง 85°C เราพบชิป RK3588M SoC เป็นครั้งแรกเมื่อปีที่แล้วในบอร์ด Firefly AIO-3588MQ ซึ่งประกอบด้วยโมดูล (system-on-module) และบอร์ดฐาน (carrier board) ที่รองรับกล้องสูงสุด 16 ตัวและจอแสดงผล Full HD สูงสุด 6 จอเพื่อควบคุมระบบ Infotainment ภายในรถยนต์, กระจกมองหลังแบบดิจิตอล, หน้าจอมอนิเตอร์ที่พิงศีรษะด้านหลัง, ระบบ ADAS และอื่นๆ และยังมีผู้ผลิตรายอื่นๆ ที่เปิดตัวผลิตภัณฑ์ที่ใช้ RK3588M เกรดยานยนต์ และ DusunIoT DSOM-042R ก็เป็นอีกหนึ่งตัวเลือกด้วย สเปคของ Dusun RK3588M SoM: SoC – โปรเซสเซอร์ Rockchip RK3588M octa-core พร้อมด้วย CPU – 4x Cortex-A […]

AAEON PICO-MTU4 : บอร์ด Pico-ITX SBC ที่ใช้ชิปเซ็ต Intel Core Ultra 5/7 “Meteor Lake”

Pico-ITX SBC Intel Core Ultra Meteor Lake SoC

AAEON PICO-MTU4 เป็นบอร์ด Pico-ITX SBC อาจจะเป็นแพลตฟอร์มที่เล็กที่สุดในโลก ที่ใช้ชิปเซ็ต 14th Gen Intel Core Ultra 5/7 SoC ที่เป็นส่วนหนึ่งของ ตระกูล Meteor Lake และเปิดตัวถัดจาก UP Xtreme i14 SBC ที่บริษัทเปิดตัวเมื่อไม่กี่เดือนที่ผ่านมา โดยใช้โปรเซสเซอร์ตัวเดียวกัน แม้ว่ารุ่นใหม่จะมีข้อจำกัดในการใช้พลังงานที่ 15W เนื่องจากขนาดที่เล็กกว่า (100×72 มม.) บอร์ด Core Ultra 5/7 Pico-ITX SBC มาพร้อมกับแรม DDR5 ขนาดสูงสุด 64GB, รองรับการจัดเก็บข้อมูลแบบ NVMe และ SATA, มีการเชื่อมต่อเครือข่าย 2.5GbE และ GbE, ช่อง M.2 Key-M และ Key-E สำหรับการขยายพื้นที่จัดเก็บหรือ/และการเชื่อมต่อไร้สาย, รองรับการแสดงผลคู่ผ่าน HDMI และ eDP, มีพอร์ต USB หลายตัว, และมีพอร์ต RS232/RS422/RS485 จำนวนสองพอร์ต   สเปคของ AAEON PICO-M […]

Orange Pi 5 Max SBC ที่ใช้ Rockchip RK3588 พร้อมแรม LPDDR5 สูงสุด 16GB, 2.5GbE, WiFi 6E และ Bluetooth 5.3

Orange Pi 5 Max SBC

ในงาน Orange Pi Developer Conference เมื่อต้นปีนี้ได้เปิดตัว Orange Pi 5 Max SBC ที่ใช้ชิป Rockchip RK3588 และขณะนี้สามารถซื้อได้แล้วที่ Amazon และ Aliexpress ในราคาเริ่มต้น $95(~3,300฿) สำหรับรุ่นแรม LPDDR5 8GB หรือ 16GB ซึ่งรองรับโมดูล eMMC flash หรือ eMMC flash ที่ติดตั้งบนบอร์ด นอกจากนี้ยังมีรุ่นแรม 4GB มีแผนจะออกมาในราคา $75 (~2,600฿) Orange Pi 5 Max เป็นเวอร์ชันที่ลดต้นทุนของ Orange Pi 5 Plus โดยมีพอร์ตเชื่อมต่อน้อยกว่า (เช่น 1x 2.5GbE แทนที่จะเป็น 2x 2.5GbE, ไม่มี HDMI input) มีหน่วยความจำ LPDDR5 ที่มีแบนด์วิดธ์สูงกว่า, รองรับ WiFi 6E และ Bluetooth 5.3 บนบอร์ด, และขนาดบอร์ดเล็กกว่าอยู่ระหว่าง Pico-ITX และขนาดของบัตรเครดิต สเปคของ Orange Pi 5 Max: SoC – Rockchip RK3588 CPU – Octa-core processor พร้อม 4x C […]

Tachyon : บอร์ด SBC มีขนาดเท่าบัตรเครดิตที่ใช้ Qualcomm QCM6490 Arm AI SoC พร้อมการเชื่อมต่อ 5G และ WiFi 6

Tachyon Qualcomm QCS6490 SBC

Particle Tachyon เป็นบอร์ด SBC ที่มีขนาดบัตรเครดิตออกแบบมาสำหรับโครงการ AIoT โดยใช้ชิป Qualcomm QCM6490 Octa-core Cortex-A78/A55 SoC ที่มีประสิทธิภาพ AI 12 TOPS, RAM 4GB, UFS storage 64GB และรองรับการเชื่อมต่อเซลลูล่าร์ 5G และ WiFi 6 Tachyon ได้รวมอินเทอร์เฟส MIPI DSI และ CSI สำหรับการเชื่อมต่อจอแสดงผล/กล้อง, พอร์ต USB-C สองพอร์ต รวมถึงพอร์ตหนึ่งที่รองรับ DisplayPort Alt mode และยังใช้ฟีเจอร์บางส่วนของ Raspberry Pi 5 ด้วย ด้วย GPIO header 40-pin สำหรับบอร์ดขยาย HAT และ PCIe FFC 20-pin สำหรับการเพิ่ม PCIe สเปคของ Tachyon: ชิปประมวลผล Qualcomm QCM6490 1x Gold Plus core (Cortex-A78) @ 2.7 GHz, 3x Gold cores (Cortex-A78) @ 2.4 GHz, 4x Silver cores (Cortex-A55) @ สูงสุด 1.9 GHz GPU – Adreno 643L GPU @ 812 MHz รองรับ […]

รีวิว LattePanda Mu : Compute Module x86 ที่ใช้ซีพียู Intel N100 พร้อมทดสอบประสิทธิภาพบน Ubuntu 24.04

LattePanda mu ubuntu benchmark review

หลังจากที่เราได้แกะกล่องและทดสอบ LattePanda Mu พร้อมอุปกรณ์เสริมไปแล้วบน Windows ซึ่งได้ทดสอบการใช้งาน Lite Carrier Board และ Full-Function Evaluation ไปแล้วในรีวิวแกะกล่องและทดสอบการใช้งานบน Windows นั้น ในรีวิวนี้เราจะมาทดสอบใช้งาน LattePanda Mu บนระบบปฎิบัติการ Ubuntu 24.04 กัน โดยทำการทดสอบมาตรฐานเช่นเดียวกันกับบอร์ดอื่น ๆ คือ การตรวจสอบข้อมูลระบบเบื้องต้น การทดสอบ Benchmark CPU Disk Peripherals Network การทดสอบการใช้งานเว็บและมัลติมีเดียร์ การตรวจสอบการใช้พลังงาน และเนื่องจาก LattePanda Mu เป็นสถาปัตยกรรม X64 ทำให้เราสามารถสร้าง boot disk เพื่อทำการติดตั้ง Ubuntu 24.04 ได้เหมือนการติดตั้งทั่วไปเลย โดยหลังจากติดตั้งเสร็จแล้ว เราจะมาตรวจสอบข้อมูลระบบเบื้องต้นกันในหัวข้อด้านล่าง ข้อมูลระบบเบื้องต้น [crayon-67 […]

Exit mobile version