CrowBot BOLT เป็น smart robot car หรือ หุ่นยนต์รถอัจฉริยะ ที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ไร้สาย ESP32 และออกแบบมาเพื่อการศึกษาเหมาะกับการเรียนรู้ทักษะด้านหุ่นยนต์ด้วยการเขียนโปรแกรม visual programming, Arduino หรือ MicroPython Elecrow ได้ส่งชุดคิท “CrowBot BOLT” ให้ฉันเพื่อประเมินผล ดังนั้นฉันจะดูรายละเอียดฮาร์ดแวร์, แสดงวิธีประกอบ, แสดงคุณสมบัติของเฟิร์มแวร์ในหุ่นยนต์ และสาธิตวิธีติดตั้งโปรแกรมหุ่นยนต์ด้วยการเขียนโปรแกรม visual programming, Arduino และ MicroPython โดยใช้ตัวอย่างโค้ดที่ให้มาบางส่วน แกะกล่อง CrowBot BOLT แพ็คเกจนี้แสดงรายการไฮไลท์ด้วยเนื้อหาการเรียนรู้ 16 คอร์ส การรองรับแพลตฟอร์มการเขียนโปรแกรมที่หลากหลาย, การปรับขนาดให้เหมาะสมด้วยคอนเนกเตอร์ Grove และจอยสติ๊กที่สามารถติดตั้งโปรแกรมได้ด้วย C […]
รีวิว : เครื่องแกะสลักเลเซอร์ TOOCA Laser L1 (5W)
เครื่องแกะสลักเลเซอร์ TOOCA Laser L1 (5W) จาก ELECFREAKS เคลื่อนที่แบบ XY ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ โครงสร้างแข็งแรงมาตรฐานสูง ขนาดกระทัดรัด น้ำหนักเบาเหมาะสำหรับนักประดิษฐ์สามารถแกะสลักโลหะและวัสดุได้หลากหลายเกือบทุกชนิด รวมถึงใช้ในโรงเรียนที่เริ่มจะให้นักเรียนได้เรียนรู้การประดิษฐ์ชิ้นงานต่างๆขึ้นมา ใช้งานง่ายสามารถกดปุ่มได้เพียงปุ่มเดียว เปิดกล่องเครื่องแกะสลักเลเซอร์ TOOCA Laser L1 ในกล่องบรรจุด้วยส่วนประกอบต่างๆที่สามารถประกอบได้อย่างง่ายดายและบรรจุมาด้วยกล่องที่ขนาดไม่ใหญ่ แพ็คมาอย่างดีไม่ต้องกลัวเรื่องความเสียหายของอุปกรณ์ มาพร้อมเครื่องมือและคู่มือในการประกอบ เรียกได้ว่าเปิดกล่องมาแล้วประกอบได้เลยโดยไม่ต้องหาเครื่องมืออื่นมาเสริมเลยทีเดียว สเปคเครื่องแกะสลักเลเซอร์ TOOCA Laser L1 เครื่องเลเซอร์ TOOCA Laser […]
รีวิว : เราเตอร์ Brume 2 กับ WireGuard, OpenVPN, Tor และ Adguard Home
เราเริ่มรีวิว เราเตอร์ GL.iNet GL-MT2500A หรือที่เรียกว่า Brume 2 security gateway ด้วยการแกะกล่องและแกะเครื่อง ตอนนี้ถึงเวลาทดสอบเราเตอร์โดยละเอียด ถึงการใช้เราเตอร์กับ WireGuard, OpenVPN, Tor และ Adguard Home โดยสรุปมันใช้งานง่ายมาก ยกเว้นแต่ว่า ISP ของคุณจะทำให้เกิดปัญหา การเชื่อมต่อ Brume 2 และการตั้งค่าเริ่มต้น ฉันเชื่อมต่อพอร์ต WAN ของเราเตอร์ Brume 2 กับเราเตอร์โมเด็มของ 3BB พอร์ต LAN กับโน็ตบุ๊ค และสุดท้ายต่อไฟกับ USB-C (การดึงพลังงานอยู่ที่ 2.3 วัตต์เมื่อไม่ได้ใช้งาน) เข้าสู่ระบบ โดยใช้ 192.168.1.1 เป็นค่าเริ่มต้น ต่อไปตั้งค่า wizard เลือกภาษาและตั้งรหัสผ่าน admin จากนั้นฉันได้รับการต้อนรับทันทีจาก “การเตือนการอัพเกรด” (Upgrade Reminder) และอัพเกรดแบบไร้สาย OTA สำหรับเฟิร์มแวร์ โดยไม่มีปัญ […]
เริ่มใช้งานกล้อง e-CAM20_CURB สำหรับ Raspberry Pi 4
กล้อง e-con Systems e-CAM20_CURB เป็นกล้องถ่ายภาพสี 2.3 MP แบบ fixed focus และ Global shutter ที่ออกแบบมาสำหรับ Raspberry Pi 4 และบริษัทได้ส่งตัวอย่างมาให้เราเพื่อประเมินและรีวิว เราจะเริ่มต้นด้วยกาให้ขอมูลสเปค จากนั้นตรวจสอบเนื้อหาในแพ็คเกจ เชื่อมต่อกล้องกับ Raspberry Pi 4 โดยใช้ขาตั้ง DIY LEGO แสดงวิธีเข้าถึงทรัพยากรสำหรับกล้อง และลองใช้เครื่องมือที่มีให้ใน Raspberry Pi OS หรือ Yocto Linux image สเปคของ e-CAM20_CURB กล้องประกอบด้วยสองบอร์ดที่มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้: eCAM217_CUMI0234_MOD กล้องสี full HD พร้อมอินเทอร์เฟซ 4-lane MIPI CSI-2 ON Semiconductor AR0234CS เซนเซอร์ภาพ CMOS ที่มีฟอร์มแฟกเตอร์ขนาด 1/2.6 นิ้ว Global shutter (คือการการที่เซนเซอร์จะเก็บข้อมูลภาพของทุกพิกเซลพร้อม ๆ กัน) Onboard เซ็นเซอร์ภาพ I […]
แก้ไขปัญหาด้านประสิทธิภาพของ ดองเกิล USB to 2.5GbE ที่ใช้ Realtek RTL8156B ใน Ubuntu
ฉันเคยได้รีวิวอะแดปเตอร์อีเทอร์เน็ต USB 3.0 to 2.5 Gbps ที่ใช้ชิป Realtek RTL8156B ใน Ubuntu 20.04 เมื่อฉันตรวจสอบ ฉันไม่ประทับใจกับความน่าเชื่อถือและประสิทธิภาพของอแดปเตอร์มากนัก ฉันได้รับคำแนะนำว่า ให้เปลี่ยนเปลี่ยนสายเคเบิล ขนาด MTU ฯลฯ… แต่การเปลี่ยนสายเคเบิลไม่ได้ผล แต่มีความคิดเห็นหนึ่งพูดถึงอาจมีปัญหาจาก cdc_ncm driver ตามด้วยอีกคนหนึ่งบอกว่าการอัปเดตเป็น Linux kernel 5.14 ควรติดตั้งไดรเวอร์ r8152 ที่ถูกต้อง … ดังนั้นฉันจึงทำทำเช่นนี้:
1 |
sudo apt install linux-oem-20.04d |
Linux 5.13 ที่อัปเกรดแล้ว (รวมอยู่ใน Ubuntu 20.04 + HWE) เป็น Linux 5.14 แต่ก็ยังไม่ได้เพราะระบบยังคงใช้ cdc_ncm driver พร้อมลิงก์ half-duplex:
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 |
jaufranc@cnx-laptop-4:~$ inxi -n Network: Device-1: Realtek RTL8111/8168/8411 PCI Express Gigabit Ethernet driver: r8169 IF: enp2s0f1 state: down mac: 98:28:a6:0f:06:07 Device-2: Qualcomm Atheros QCA9377 802.11ac Wireless Network Adapter driver: ath10k_pci IF: wlp3s0 state: up mac: 70:c9:4e:b7:84:77 Device-3: Realtek USB 10/100/1G/2.5G LAN type: USB driver: cdc_ncm IF: enx1cbfced40321 state: up speed: 2500 Mbps duplex: half mac: 1c:bf:ce:d4:03:21 jaufranc@cnx-laptop-4:~$ uname -a Linux cnx-laptop-4 5.14.0-1022-oem #24-Ubuntu SMP Mon Jan 31 16:00:31 UTC 2022 x86_64 x86_64 x86_64 GNU/Linux |
จากนั้นฉันคิดว่าอาจจำเป็นต้องใช้กฎ udev เพื่อป้องกั […]
รีวิวหุ่นยนต์แขนกล myCobot 280 Pi
แกะกล่อง myCobot 280 Pi myCobot 280 Pi หุ่นยนต์แขนกลอเนกประสงค์ มีการทำงานข้อต่อแบบ 6 แกน ออกแบบและพัฒนาโดย Elephant Robotics โดยใช้ บอร์ด Raspberry Pi 4 เป็นส่วนประกอบหลักในการควบคุม มีขนาดกะทัดรัดและมั่นคง สำหรับการทำงานในพื้นที่ที่จำกัด อีกทั้งสามารถเขียนได้หลากหลายภาษา ใช้งานง่าย ฟังก์ชั่นครบครัน เหมาะสำหรับผู้ที่สนใจจะเริ่มเรียนรู้การเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์แขนกล เอาไว้ใช้ทำงานทดแทนหรือทำโครงงานวิศวกรรมศาสตร์ก็ถือว่าเหมาะสมเลยทีเดียว myCobot 280 Pi มีระยะพื้นที่การทำงานเส้นผ่านศูนย์กลาง 280 มิลลิเมตร มีน้ำหนัก 850 กรัม รับน้ำหนักในการยกของได้ 250 กรัม ขับเคลื่อนด้วยเซอร์โวมอเตอร์แต่ละแกนรวม 6 แกน มี LED แสดงผลแบบ Matrix 5×5 อีกทั้งยังสามารถเชื่อมต่อกับชิ้นส่วน Lego ได้อีกด้วย ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ขน […]
Weather Station API ด้วยบอร์ด Maker Pi Pico Mini แสดงผลกับจอ SparkFun SerLCD
Maker Pi Pico Mini ของ Cytron มาพร้อมกับหน่วยประมวลผลบอร์ด Raspberry Pi Pico / Raspberry Pi Pico W มีความสามารถเหมือนกับบอร์ดรุ่นพี่ Maker Pi Pico อย่างไฟ LED แสดงสถานะการทำงานของ GPIO, WS2812B Neopixel RGB LED, passive piezo buzzer, ปุ่มกดที่สามารถโปรแกรมการทำงานได้และปุ่ม reset ตัวบอร์ด ฉันต้องขอขอบคุณ บริษัท Cytron ที่ส่งบอร์ด Maker Pi Pico Mini ที่มาพร้อมจอ LCD RGB และ แบตเตอรี่ Lithium Polymer 3.7V ในบทความนี้เราแสดงสภาพภูมิอากาศจากทั่วโลกกับบอร์ด Maker Pi Pico โดยเราจะเขียนด้วยภาษา C/C++ (Arduino IDE) ก่อนอื่นเราจะมาแนะนำอุปกรณ์กันก่อนนะครับ บอร์ด Maker Pi Pico Mini Raspberry Pi Pico Mini เป็นเวอร์ชั่นใหม่ที่สามารถเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สายได้ โดยมีการบัดกรีเพิ่มวงจรให้ใช้งานได้ง่ายมากขึ้น โดยมีไฟ RGB 1 ดวง […]
SenseCraft เฟิร์มแวร์ตัวใหม่แสดงผลเซ็นเซอร์โดยไม่ต้องเขียนโค้ด
อ้างอิงจากรีวิว SenseCAP K1100 Sensor Prototype ด้วย LoRaWAN และ Vision AI ผู้เขียนได้เสนอแนะไว้ในบทสรุปความคิดเห็นส่วนตัว ประโยคหนึ่งกล่าวว่า “หากทางบริษัท SeeedStudio พัฒนา Firmware ตัวใหม่ออกมาที่สามารถเชื่อมต่อโดยไม่ต้อง Coding ก็จะดีมากๆ” มาบัดนี้สิ่งที่คาดหวังไว้ก็กลายเป็นจริงซะที เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2565 ทางบริษัท SeeedStudio ได้พัฒนาเฟิร์มแวร์ภายใต้โครงการชื่อว่า SenseCraft – The Project of No-Code Smart Sensor Builder เป็นการใช้งานบอร์ด Wio Terminal ร่วมกับ Grove Module ต่างๆ โดยไม่ต้องเขียนโค้ดแต่อย่างใด เราจะมาลองทดสอบเฟิร์มแวร์ SenseCraft ตัวใหม่นี้ด้วยกันครับ ปุ่มควบคุมทิศทางของ SenseCraft ใช้ Joy Stick ควบคุม 4 ทิศทาง ดังนี้ 1. Left : เลื่อนไปทางซ้าย 2. Right : เลื่อนไปทางขวา […]