รีวิวหุ่นยนต์แขนกล myCobot 280 Pi

myCobot Pi Thresholding Red

แกะกล่อง myCobot 280 Pi myCobot 280 Pi หุ่นยนต์แขนกลอเนกประสงค์ มีการทำงานข้อต่อแบบ 6 แกน ออกแบบและพัฒนาโดย Elephant Robotics โดยใช้ บอร์ด Raspberry Pi 4 เป็นส่วนประกอบหลักในการควบคุม มีขนาดกะทัดรัดและมั่นคง สำหรับการทำงานในพื้นที่ที่จำกัด อีกทั้งสามารถเขียนได้หลากหลายภาษา ใช้งานง่าย ฟังก์ชั่นครบครัน เหมาะสำหรับผู้ที่สนใจจะเริ่มเรียนรู้การเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์แขนกล เอาไว้ใช้ทำงานทดแทนหรือทำโครงงานวิศวกรรมศาสตร์ก็ถือว่าเหมาะสมเลยทีเดียว myCobot 280 Pi มีระยะพื้นที่การทำงานเส้นผ่านศูนย์กลาง 280 มิลลิเมตร มีน้ำหนัก 850 กรัม รับน้ำหนักในการยกของได้ 250 กรัม ขับเคลื่อนด้วยเซอร์โวมอเตอร์แต่ละแกนรวม 6 แกน มี LED แสดงผลแบบ Matrix 5×5 อีกทั้งยังสามารถเชื่อมต่อกับชิ้นส่วน Lego ได้อีกด้วย ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ขน […]

รีวิว การใช้งาน SONOFF NSPanel Pro กับโมดูล Zigbee, กล้อง CAM Slim

Sonoff NSPanel Pro Stand Zigbee Sensors Camera

ระบบ Smart Home หรือ บ้านอัจฉริยะ เป็นใช้เทคโนโลยี IoT หรือ Internet of Things มาประยุกต์ใช้ในบ้าน ที่เชื่อมต่อกันระหว่างอินเตอร์เน็ตกับเครื่องใช้ภายในบ้านที่มีอุปกรณ์ฝังตัว และระบบเซ็นเซอร์ โดยควบคุมผ่านการควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้อยู่อาศัยและสร้างความปลอดภัยภายในบ้านด้วย ITEAD ได้ส่งชุดอุปกรณ์สมาร์ทโฮมมาให้เรารีวิวทั้ง แผงควบคุม SONOFF NSPanel Pro, เคสตั้งโต๊ะ, กล้อง CAM Slim WiFi และโมดูล Zigbee 4 ตัว ได้แก่ SNZB-01 Wireless Switch, SNZB-02 Temperature และ Humidity Sensor, SNZB-03 Motion Sensor และ SNZB-04 Wireless Door/Window Sensor ในการรีวิวนี้ เราจะเริ่มจากการแกะกล่องและเริ่มใช้งาน SONOFF NSPanel Pro ตั้งค่าในแอปพลิเคชัน eWelink ใน Android, การเพิ่มอุปกร […]

Weather Station API ด้วยบอร์ด Maker Pi Pico Mini แสดงผลกับจอ SparkFun SerLCD

รีวิว Maker Pi Pico w กับ Sparkfun SerLcd

Maker Pi Pico Mini ของ Cytron มาพร้อมกับหน่วยประมวลผลบอร์ด Raspberry Pi Pico / Raspberry Pi Pico W มีความสามารถเหมือนกับบอร์ดรุ่นพี่ Maker Pi Pico อย่างไฟ LED แสดงสถานะการทำงานของ GPIO, WS2812B Neopixel RGB LED, passive piezo buzzer, ปุ่มกดที่สามารถโปรแกรมการทำงานได้และปุ่ม reset ตัวบอร์ด ฉันต้องขอขอบคุณ บริษัท Cytron ที่ส่งบอร์ด Maker Pi Pico Mini ที่มาพร้อมจอ LCD RGB และ แบตเตอรี่ Lithium Polymer 3.7V ในบทความนี้เราแสดงสภาพภูมิอากาศจากทั่วโลกกับบอร์ด Maker Pi Pico โดยเราจะเขียนด้วยภาษา C/C++ (Arduino IDE) ก่อนอื่นเราจะมาแนะนำอุปกรณ์กันก่อนนะครับ บอร์ด Maker Pi Pico Mini Raspberry Pi Pico Mini เป็นเวอร์ชั่นใหม่ที่สามารถเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สายได้ โดยมีการบัดกรีเพิ่มวงจรให้ใช้งานได้ง่ายมากขึ้น โดยมีไฟ RGB 1 ดวง […]

รีวิว Khadas VIM1S : แนะนำการติดตั้ง Android 11 (Part 1)

รีวิว-Khadas-VIM1S -Android-1

วันนี้จะขอแนะนำบอร์ด Khadas VIM1S แบบเร่งด่วนนะครับ เนื่องจากดองงานมานาน สำหรับท่านที่เคยสัมผัสและใช้งาน Raspberry Pi / Asus Tinker Board /Orange Pi / Banana Pi กันมาก่อน Khadas คืออีกบอร์ดที่เป็น Linux Embedded ที่สามารถเลือกใช้ OS ได้หลากหลาย เช่น Ubuntu หรือ Android ได้ง่ายๆผ่านการติดตั้งที่ง่ายดายมากเพราะบอร์ดได้ทำ MaskROM Mode ไว้ให้เลือกเรียบร้อย แถมยังอัพเดทเวอร์ชั่นตามผู้ผลิตได้โดยตรง บอร์ดที่เห็นมีขนาดเล็กกว่า Raspberry Pi เล็กน้อย และตำแหน่งพอร์ตต่างๆจะอยู่ฝั่งตรงข้ามกับขาใช้งาน GPIO การใช้งานปุ่มต่างๆ-ปุ่มกดที่บอร์ดให้มามี 3 ปุ่มตามนี้ Power (P),Function(F),Reset(R) P = สำหรับเปิด/ปิดบอร์ด โดยในระบบ Android จะถูกตั้งค่าไว้เป็น Sleep สามารถกดเพื่อหยุดการทำงานชั่วคราวได้และกดอีกครั้งก็จะตื่นขึ้นมาทำงาน […]

รีวิว Melgeek Pixel คีย์บอร์ด Mechanical ที่เข้ากันได้กับ Lego

melgeek pixel lego

หลังจากที่ฉันเคยรีวิว MelGeek Mojo 84 เป็นคีย์บอร์ด Mechanical ที่มีดีไซน์สวยงาม ฟังก์ชั่นดี, MelGeek ได้ออกสินค้าตัวใหม่ “Melgeek Pixel” คีย์บอร์ด Mechanical  ที่เข้ากันได้กับ Lego เครื่องแรกของโลก คีย์บอร์ดที่การออกแบบแรงบันดาลใจจาก Lego เอาใจคนรัก Lego ให้ทุกคนสามารถไปเลือกแต่งได้ตามใจ และยังเป็นคีย์บอร์ด Mechanical รองรับการเชื่อมต่อ 3 แบบ คือ USB type-c, Wireless 2.4 GHz. และ Bluetooth 5.1 และรองรับทุกระบบปฏิบัติการ Windows, Android, MacOS, IOS และ Linux ด้วย ฉันต้องขอขอบคุณทาง คีย์บอร์ด Mechanical ที่เข้ากันได้กับ Lego มาให้ฉันได้รีวิว แกะกล่องคีย์บอร์ด MelGeek Pixel เรามาดูแพ็กเกจของ Melgeek Pixel คีย์บอร์ด Mechanical ที่เข้ากันได้กับ Lego กันก่อน ด้านหน้ากล่อง การดีไซน์ของกล่องสวยงาม เล่นได้ […]

รีวิว Khadas Edge2 บน Android 12

Khadas Edge2 Android 12 review

เราได้รีวิว Khadas Edge2 Pro กับ Ubuntu 22.04ไปแล้ว และตอนนี้เราจะทดสอบ Rockchip RK3588S SBC ที่บางเฉียบกับ Android 12 กัน ฉันจะทดสอบคุณสมบัติต่างๆ ใช้ benchmarks, เล่นวิดีโอ และเกม ฯลฯ… Khadas Edge2 กับ Android 12 บอร์ดของเราใช้ Ubuntu 22.04 ดังนั้นเพื่อเข้าสู่ระบบเฟิร์มแวร์ OOWOW ฉันต้องกดปุ่มฟังก์ชัน (ตรงกลาง) ค้างไว้ จากนั้นกดปุ่มรีเซ็ต จากนั้นปล่อยปุ่มฟังก์ชันและเข้าสู่อินเทอร์เฟซ OOWOW อิมเมจ Android 12 อันใหม่ลงวันที่ 20 กันยายน 2022 นั้นพร้อมใช้งาน และ OOWOW ดาวน์โหลดไฟล์แล้วแฟลชไปที่บอร์ด ภายในห้านาที Android 12 เริ่มรันบนอร์ด ในฐานะที่เป็นคนที่ใช้เวลาหลายชั่วโมงในการแฟลชเฟิร์มแวร์จาก Windows มาก่อน ฉันขอขอบคุณเครื่องมืออย่าง OOWOW ที่ทำให้การติดตั้งและสลับระหว่างระบบปฏิบัติการเป็นเรื่องง่าย การต […]

รีวิว UP 4000 : x86 SBC – Part 1 แกะกล่องและลองใช้งาน

UP 4000 SBC review

AAEON UP 4000 เป็นคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยวพร้อมโปรเซสเซอร์ Apollo Lake ขนาดจิ่วเท่ากับขนาดของบัตรครดิตหรือ Raspberry Pi, UP 4000 SBC ออกแบบมาเพื่อระบบอัตโนมัติ, หุ่นยนต์, ป้ายดิจิตอล และแอปพลิเคชันอื่นๆ ใช้งานในพื้นที่จำกัดใช้โปรเซสเซอร์ x86 บริษัทได้เผยแพร่ Phoronix benchmarks ที่เปรียบเทียบ UP 4000 SBC กับ Raspberry Pi 4, NVIDIA Jetson Nano และบอร์ด UP รุ่น original แต่เนื่องจากไม่มีอะไรดีไปกว่าการประเมินของบุคคลที่สาม,บริษัท AAEON จึงส่งตัวอย่างมาให้ CNX Software เพื่อทำการทดสอบเพิ่มเติม แกะกล่อง UP 4000 SBC บอร์ดมีหลากหลายรุ่น และฉันได้รับ UP-APL03X7F-A10-0464 SKU พร้อม RAM 4GB, แฟลช eMMC 64Gb และโปรเซสเซอร์ Intel Atom x7-E3950 quad-core ในชุดประกอบด้วยบอร์ดและคู่มือความปลอดภัยหลายภาษา (เช่น อธิบายว่าคุณไม่คว […]

SenseCraft เฟิร์มแวร์ตัวใหม่แสดงผลเซ็นเซอร์โดยไม่ต้องเขียนโค้ด

voc

อ้างอิงจากรีวิว SenseCAP K1100 Sensor Prototype ด้วย LoRaWAN และ Vision AI ผู้เขียนได้เสนอแนะไว้ในบทสรุปความคิดเห็นส่วนตัว ประโยคหนึ่งกล่าวว่า “หากทางบริษัท SeeedStudio พัฒนา Firmware ตัวใหม่ออกมาที่สามารถเชื่อมต่อโดยไม่ต้อง Coding ก็จะดีมากๆ” มาบัดนี้สิ่งที่คาดหวังไว้ก็กลายเป็นจริงซะที เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2565 ทางบริษัท SeeedStudio ได้พัฒนาเฟิร์มแวร์ภายใต้โครงการชื่อว่า SenseCraft – The Project of No-Code Smart Sensor Builder เป็นการใช้งานบอร์ด Wio Terminal ร่วมกับ Grove Module ต่างๆ โดยไม่ต้องเขียนโค้ดแต่อย่างใด เราจะมาลองทดสอบเฟิร์มแวร์ SenseCraft ตัวใหม่นี้ด้วยกันครับ ปุ่มควบคุมทิศทางของ SenseCraft ใช้ Joy Stick ควบคุม 4 ทิศทาง ดังนี้ 1. Left : เลื่อนไปทางซ้าย 2. Right : เลื่อนไปทางขวา […]