ชุดคิทที่ใช้ ESP32-S3 สำหรับสร้างวิทยุอินเทอร์เน็ตพร้อมหน้าจอสัมผัส

esp32 internet Radio

ESP32 Internet Radio จากผู้ผลิตในโปแลนด์ The MicroMaker เป็นชุดฮาร์ดแวร์ที่เรียบง่ายที่ใช้บอร์ดพัฒนา LilyGo T-Display S3 กับโมดูล I2S audio breakout และส่วนประกอบอื่นๆ เพื่อสร้างวิทยุที่สามารถเข้าถึงและสตรีมจากสถานีวิทยุออนไลน์ได้, Internet Radio ESP32 แตกต่างจากวิทยุทั่วไปคือจะไม่จำกัดเฉพาะสถานีวิทยุที่มีอยู่ในบริเวณใกล้เคียง วิทยุนี้ใช้ LilyGo T-Display S3 ที่มีไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32-S3 ที่รองรับเครือข่าย (Wi-Fi + BLE 5), หน้าจอสัมผัสแบบ full-color capacitive ขนาด 1.9 นิ้ว และปุ่มที่โปรแกรมได้สองปุ่ม, ด้วยความสามารถ Wi-Fi ในตัวของ ESP32-S3 ช่วยให้วิทยุสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ และหน้าจอสัมผัสทำให้ใช้งานง่ายและสะดวกต่อผู้ใช้ วิทยุนี้รองรับการจัดเก็บสถานีวิทยุได้สูงสุด 512 สถานี และคุณสามารถจัดการสถานีเหล […]

รีวิวเริ่มต้นใช้งาน Maker Uno RP2040 ด้วย CircuitPython พร้อมกับ Micro Servo Motor, Maker Soil Module, โมดูล Ultrasonic

Cytron Maker Uno RP2040 review CircuitPython

หลังจากที่เราได้ดูสเปคของ Cytron Maker Uno RP2040 และใช้งานบนโปรแกรม Arduino IDE พร้อมเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ใช้งานง่ายเหมาะสำหรับสำหรับผู้เริ่มต้นและผู้ใช้ขั้นสูงที่สามารถนำไปต่อยอดพัฒนาต่อไป วันนี้เราจะทดลองใช้บอร์ด Maker Uno RP2040 พร้อมใช้งานบน Thonny IDE ด้วย CircuitPython โดยเริ่มจากติดตั้งโปรแกรม Thonny IDE แล้วทำการเชื่อมต่อบอร์ด, การเขียนโปรแกรม Blink ไฟกระพริบ, ไฟ LED แบบ RGB, กดปุ่มไฟติด, buzzer ทำให้มีเสียง, ใช้งานร่วมกับ Micro Servo Motor, อ่านค่าเซนเซอร์วัดความชื้นด้วย Maker Soil Module และวัดระยะห่างวัดถุด้วยโมดูลเซนเซอร์ Ultrasonic HC-SR04 การติดตั้งโปรแกรม Thonny IDE โดยการทดสอบกับบอร์ด Maker Uno RP2040 จะใช้  Thonny เป็น Python IDE ระดับสำหรับเริ่มต้น ซึ่งออกแบบมาเหมาะสำหรับการเรียนรู้และกา […]

Serial Bus Servo Driver HAT (A) สามารถควบคุมเซอร์โวพร้อมกันได้สูงสุด 253 ตัว

Waveshare Bus Servo Driver HAT A

Waveshare ได้เปิดตัว Serial Bus Servo Driver HAT (A) ซึ่งเป็นตัวควบคุมเซอร์โวมอเตอร์ที่ใช้ ESP32 สำหรับ Raspberry Pi ที่ออกแบบมาเพื่อขับเคลื่อนเซอร์โวแบบ serial ได้ถึง 253 ตัวพร้อมกัน เซอร์โวสามารถควบคุมผ่าน UART หรือ USB ผ่าน Pi SBC หรือใช้เป็นตัวควบคุมแบบ standalone สำหรับโปรเจกต์หุ่นยนต์ บอร์ดนี้มีช่วงแรงดันไฟฟ้าขาเข้าที่กว้างตั้งแต่ 9 ถึง 25 โวลต์ และมีคอนเนกเตอร์ XT60 แบบติดตั้งบนบอร์ด, screw terminal และDC barrel jack ที่สามารถใช้เป็นแหล่งจ่ายไฟได้ นอกจากนี้บอร์ดยังมีพอร์ต RS485, TTL Servo header และสวิตช์ควบคุม UART เพื่อความสะดวก ก่อนหน้านี้ เราได้เขียนเกี่ยวกับ บอร์ดขยายมัลติฟังก์ชั่น Suptronics X200 HAT สำหรับ Pi ที่รองรับเซอร์โว หรือ ELECFREAKS Wukong 2040 ซึ่งสามารถใช้เพื่อขับเคลื่อนเซอร์โวได้เช่นกั […]

บอร์ด LimeNET Micro 2.0 Developer Edition ที่ใช้ Raspberry Pi CM4 และโมดูล SDR LimeSDR XTRX

limenet micro 2 front 01 jpg gallery lg

บอร์ด LimeNET Micro 2.0 Developer Edition เป็นแพลตฟอร์ม Modular สำหรับ ระบบสื่อสารวิทยุ software-defined radio (SDR) ของ Lime Microsystems ที่ใช้ Raspberry Pi Compute Module 4 และบอร์ด SDR ของบริษัท LimeSDR XTRX โดยพัฒนาต่อยอดรุ่นก่อนหน้าจาก Lime Microsystems  เช่น LimeSDR Mini และ LimeSDR Mini 2.0  (multiple-input, multiple-output) และใช้ Compute Module 4 ที่ทรงพลังมากขึ้น ซึ่งเป็นการอัปเกรดจาก Raspberry Pi CM3 ในเวอร์ชันก่อนหน้า LimeSDR XTRX เป็น SDR แบบโอเพ่นซอร์สและประสิทธิภาพสูงในรูปแบบ Mini PCIe ขนาดเล็ก โดยเป็นแพลตฟอร์มสำหรับการสร้างการออกแบบดิจิทัลและคลื่นวิทยุ RF (Radio Frequency) ที่เน้นลอจิก (logic-intensive) และสามารถใช้สำหรับการกำหนดค่าสายอากาศ MIMO ตั้งแต่ 2Tx2R ถึง 32Tx32R แพลตฟอร์มนี้ถูกสร้างขึ้ […]

บอร์ดพัฒนา RPGA Feather ได้รวมชิป RP2040 กับ Lattice iCE40 FPGA สำหรับโครงการ Sensor Fusion

rpga feather board

บอร์ด RPGA Feather ของ Oak Development Technologies ได้รวมไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 เข้ากับ iCE5LP4K FPGA ของ Lattice Semiconductor ลงในบอร์ดพัฒนาขนาดเล็กฟอร์มแฟคเตอร์ Adafruit Feather iCE5LP4K FPGA เป็นชิปที่ใช้พลังงานต่ำ (ultra-low-power) ในตระกูลผลิตภัณฑ์ iCE40 Ultra ที่ออกแบบมาสำหรับแอปพลิเคชันบนมือถือ เช่น สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และอุปกรณ์พกพา ส่วนไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 ทำให้การเขียนโปรแกรมด้วย CircuitPython บน FPGA ง่ายขึ้น ก่อนหน้านี้เราจะได้เห็นผลิตภัณฑ์ของ Oak Development Technologies ที่ใช้ฟอร์มแฟคเตอร์ Adafruit Feather เช่น บอร์ด IcyBlue (ที่ใช้ก iCE5LP4K FPGA) และ Lattice FeatherWing สเปคของ RPGA Feather: MCU – ไมโครคอนโทรลเลอร์  Raspberry Pi RP2040 dual-core Cortex-M0+  @ 133 […]

ThingPulse Pendrive S3 : บอร์ดพัฒนา ESP32-S3 ในรูปแบบ USB stick มาพร้อมกับสตอเรจ 128MB และปุ่ม capacitive แบบสปริง

ThingPulse ESP32-S3 Pendrive spring button

Pendrive S3 เป็นบอร์ดพัฒนา ESP32-S3 ในรูปแบบ USB stick พร้อมหน่วยความจำแฟลช 128MB และปุ่มสัมผัส capacitive แบบสปริง ที่ใช้โมดูล Espressif ESP32-S3-MINI-1 บนบอร์ดกับ Xtensa dual-core 32-bit LX7 microprocessor พร้อมรองรับ Wi-Fi 2.4GHz และ Bluetooth 5 (พลังงานต่ำ) อุปกรณ์นี้มีปุ่มสัมผัสแบบ capacitive ที่สามารถใช้เพื่อกระตุ้นการทำงานโดยการสัมผัสที่ตัวเครื่อง ปุ่ม capacitive ที่ด้านนอกของอุปกรณ์ ซึ่งช่วยให้อุปกรณ์มีลักษณะแบบ low profile คุณอาจสนใจบทความของ Dani Eichhorn เกี่ยวกับแนวคิดในการใช้สปริงสำหรับปุ่มสัมผัส capacitive Pendrive S3 stick สามารถใช้เป็นอุปกรณ์ BadUSB สำหรับการแฮ็กและการทดสอบเจาะระบบ ด้วย SuperWiFiDuck อุปกรณ์ สามารถทำการโจมตีแบบ keystroke injection ได้ สคริปต์ทั้งหมดสามารถจัดการและควบคุมได้แบบไร้ […]

รีวิวแกะกล่อง LattePanda Mu : Compute Module x86 ที่ใช้ซีพียู Intel N100 พร้อมใช้งานบน Windows 11

LattePanda Mu review

ทางบริษัท DFRobot ได้เปิดตัวบอร์ด LattePanda Mu มาระยะหนึ่งแล้ว โดยความน่าสนใจคือการออกแบบบอร์ดให้เป็น compute module ให้เราสามารถนำไปใช้สร้างสรรค์ carrier บอร์ดของเราเองได้โดยไม่ต้องใช้ความชำนาญมาก โดยบอร์ด LattePanda Mu นั้นจะอยู่ในฟอร์มแฟคเตอร์ SO-DIMM DDR4 และบนตัว LattePanda Mu มี connector สำหรับต่อจอภาพและกล้องติดตั้งมาในตัว ซึ่งทาง DFRobot  ก็ได้ส่งทั้งบอร์ด LattePanda Mu และ carrier board ทั้งสองแบบคือแบบ Lite และแบบ Full function พร้อมกับระบบระบายความร้อนทั้งสองแบบคือแบบ Passive เป็น Heatsink และแบบ Active มีพัดลมระบายความร้อยติดตั้งมาด้วย เรามาชมภาพรวมของบอร์ดและอุปกรณ์เสริมจาก DFRobot กันเลยดีกว่า แกะกล่องบอร์ด LattePanda Mu พร้อมอุปกรณ์เสริม พัสดุแกะออกมาพบกับกล่องทั้งหมด 3 กล่อง เราจะมาแกะกล่องทีล […]

โมดูล NiCE5340 ที่ใช้ Nordic nRF5340 MCU, Lattice iCE40 FPGA และเซนเซอร์ 11 ตัวในฟอร์มแฟคเตอร์จิ๋ว 29×16 มม.

Stefano Violas NiCE5340 SoM

โมดูล NiCE5340 ของ Stefano Viola ได้สร้างขึ้นโดยใช้ Nordic Semi nRF5340 Bluetooth SoC, iCE40 FPGA, เซนเซอร์ 11 ตัว, ที่ชาร์จแบตเตอรี่ และอุปกรณ์ต่อพ่วง ทั้งหมดอยู่ในรูปฟอร์มแฟคเตอร์จิ๋วขนาด 29×16 มม., nRF5340 ที่ใช้ในโมดูล (SoM) เป็น SoC แบบ dual-core Arm Cortex-M33 ที่ใช้พลังงานต่ำพร้อมด้วย Bluetooth 5.4, Bluetooth LE (BLE), Thread, Zigbee และ proprietary protocols อื่นๆ ในขณะเดียวกัน Lattice iCE40 FPGA มี 3520 logic cells, 80 Kbits ของ embedded Block RAM, บล็อก I2C และ SPI และคุณสมบัติอื่นๆ อีกมากมายที่ทำให้เหมาะสำหรับการใช้งานเช่น การตรวจสอบสภาพแวดล้อม, การติดตามสุขภาพ และอื่นๆ เราเคยเขียนบทความเกี่ยวกับบอร์ดจิ่ว เช่น Unexpected Maker NANOS3 , TinyS3, FeatherS3 และ ProS3 และบอร์ดพัฒนา ESP32-S3 4G แต่นี่เป็นค […]