Nordic เปิดตัว nRF7002 EK รองรับ WiFi 6 ในรูปแบบ Arduino Shield, และชิประบุตำแหน่งของ Wi-Fi ที่ใช้ nRF7000 SSID

WiFi 6 Arduino Shield

Nordic Semi เปิดตัว nRF7002 Evaluation Kit โดยใช้ nRF7002 ชิป IoT ที่รองรับ dual-band WiFi 6 ของบริษัท และอยู่ในรูปแบบของ Arduino shield ที่ทำงานร่วมกับชุดพัฒนาของ Nordic เช่นชุดพัฒนา nRF52840 DK, nRF5340 DK และ nRF9160 DK  และบริษัทได้เปิดตัวชิประบุตำแหน่ง Wi-Fi ที่ใช้ nRF7000 SSID nRF7002 เมื่อต้นปีบริษัทได้เปิดตัว ชุดพัฒนา nRF7002 ซึ่งเป็นชุดพัฒนา IoT ที่ใช้ nRF7002 WiFi 6 และไมโครคอนโทรลเลอร์ไร้สาย nRF5340 dual-core Arm Cortex-M33 แต่สำหรับนักพัฒนาที่เป็นเจ้าของ nRF devkits อยู่แล้ว และบริษัทจึงได้เปิดตัว nRF7002 Evaluation Kit ในรูปแบบ Arduino Shield ใหม่นี้มาเพิ่ม สเปคของ nRF7002 Evaluation Kit: Wireless chip – Nordic Semi nRF7002 Dual-band Wi-Fi 6 (802.11ax) โหมดสถานี WiFi Target Wake Time (TWT) ช่องสัญญ […]

PineBerry Pi HatDrive : M.2 PCIe HAT สำหรับ Raspberry Pi 5

Raspberry Pi 5 PineBerry Pi M.2 HAT

Raspberry Pi 5 SBC มาพร้อมกับอินเทอร์เฟซ PCIe 2.1 x1 ไม่มีประโยชน์เนื่องจากต้องใช้ร่วมกับ Raspberry Pi 5 HAT และขณะที่ Raspberry Pi Ltd กำลังทำงานเกี่ยวกับ HAT เพื่อใช้ตัวเชื่อมต่อ PCIe, บริษัท PineBerry Pi ก็ได้เปิดตัว HatDrive M.2 HAT สำหรับ Raspberry Pi 5 HatDrive มาพร้อมกับช่องใส่ M.2 Key-M socket พร้อมอินเทอร์เฟซ PCIe x1 และรองรับโมดูล 2230 และ 2242 ทำให้คุณสามารถติดตั้ง SSD, AI accelerator,I หรือโมดูล M.2 ที่เข้ากันได้ HAT เชื่อมต่อผ่านสายเคเบิล FPC 16 ขายาว 40 มม. (ที่รองรับสูงสุด PCIe Gen3) รวมถึง GPIO header 40 ขาของ Raspberry Pi GPIO, สำหรับ I2C EEPROM ที่จำเป็นสำหรับ HAT ที่เป็นไปตามมาตรฐาน รวมถึงการตรวจสอบพาวเวอร์ซัพพลาย และเพื่อให้ผู้ใช้เพิ่ม HAT อีกอันไว้ด้านบนหากจำเป็น นอกจากนี้ยังมาพร้อมกับ spac […]

Libre Computer เปิดตัว AML-A311D-CC หรือ “Alta” บอร์ด SBC ที่ใช้โปรเซสเซอร์ Amlogic A311D สำหรับงาน AI

Libre Computer AMLA311D-CC Alta SBC

Libre Computer ได้เปิดตัว “Alta”  หรือ AML-A311D-CC เป็นบอร์ด SBC มีขนาดเท่าบัตรเครดิต ซึ่งออกแบบมาสำหรับแอปพลิเคชัน AI ที่ใ่ช้โปรเซสเซอร์ Amlogic A311D hexa-core Arm Cortex-A73/A53 พร้อม AI accelerator ที่มีประสิทธิภาพ 5 TOPS บอร์ด SBC มาพร้อมกับ RAM LPDDR4 ขนาด 4GB, SPI flash ขนาด 16MB สำหรับ bootloader, ช่องเสียบ microSD card slot และตัวเชื่อมต่อโมดูล eMMC flash สำหรับเก็บข้อมูล และมีพอร์ตต่างๆ ที่คล้ายกับ Raspberry Pi 3 Model B+ พร้อม Gigabit Ethernet, พอร์ต USB 3.0 จำนวน 4 พอร์ต , เอาต์พุต HDMI,ช่อง AV jac, คอนเนกเตอร์ MIPI CSI และ DSI และ GPIO heade 40-pin ที่จะใช้งานได้กับ Raspberry Pi HAT สเปค AML-A311D-CC “อัลตา”: SoC – Amlogic A311D CPU โปรเซสเซอร์ Hexa-core พร้อม 4x Arm Cortex-A73 cores @ สูงสุด 2.2 […]

EDATEC เปิดตัวเคสสำหรับใส่ Raspberry Pi 5 SBC แบบ fanless 2 รุ่น

Raspberry Pi 5 fanless cases

ในรีวิว Raspberry Pi 5 SBC เราจะเห็นว่ามีการปรับปรุงประสิทธิภาพให้ดีกว่า Raspberry Pi 4 แต่บอร์ดจำเป็นต้องมีการระบายความร้อนด้วยเครื่องทำความเย็นแบบแอคทีฟ active cooler และเคสพร้อมพัดลมอย่างเป็นทางการสำหรับ Raspberry Pi 5 สามารถทำงานหนักโดยใช้ประสิทธิภาพขั้นสูงได้ต่อเนื่องเป็นเวลานานโดยไม่ต้องกังวลปัญหาเครื่องร้อนและยังไม่มีเคสแบบ fanless อย่างเป็นทางการของ Raspberry Pi รุ่นล่าสุดออกมา เพื่อสนองความต้องการบริษัท EDATEC เปิดตัวเคสสำหรับใส่ Raspberry Pi 5 SBC แบบ fanless 2 รุ่น ได้แก่ ED-Pi5Case-B แบบ low-profile มีการอออกแบบที่เรียบและปิด และ ED-Pi5Case-O เป็นเคสแบบเปิดที่มีฮีทซิงค์สองตัววางอยู่ด้านบนและด้านล่างของ Raspberry Pi 5 เคสแบบ fanless ทำจากอะลูมิเนียม (CNC milled) ให้เลือกทั้งสีเงินหรือสีดำ และสามารถเข […]

รีวิว Raspberry Pi 5 – Part 2: Raspberry Pi OS Bookworm, การทดสอบประสิทธิภาพ benchmarks การใช้พลังงาน และอื่นๆ

Raspberry Pi 5 Review Raspberry Pi OS Bookworm

เมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมาเราได้แกะกล่องชุด Raspberry Pi 5 ดูชุดอุปกรณ์และทดสอบการบูตด้วย Raspberry Pi OS bookworm ตอนนี้เราจะทำการทดสอบเพิ่มเติมเพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพด้วย Benchmarks และตรวจสอบคุณสมบัติต่างๆ บน Raspberry Pi 5 พร้อมทั้งเปรียบเทียบ Raspberry Pi 5 กับ Raspberry Pi 4 และบอร์ด Arm Linux SBC อื่นๆ ข้อมูลระบบใน Raspberry Pi OS Bookworm เราได้ติดตั้ง Raspberry Pi 5 ในเคสของมันเรียบร้อยแล้ว แต่สำหรับการทดสอบส่วนใหญ่จะกลับไปใช้บอร์ดเปลือยที่ติดตั้งระบบระบายความร้อนแบบแอคทีฟ เพราะเป็นตัวเลือกการระบายความร้อนที่ดีที่สุด ตามที่เราจะเห็นต่อไปในรีวิว ก่อนอื่นเรามาตรวจสอบข้อมูลระบบ

รีวิวชุด Raspberry Pi 5 – Part 1: แกะกล่อง การประกอบ และลองใช้งานครั้งแรก

Raspberry Pi 5 Kit Review Raspberry Pi OS boot

ฉันพร้อมที่กับการรีวิว Raspberry Pi 5 ที่บริษัทส่งมาให้เมื่อเดือนที่แล้ว ฉันจะทำการรีวิวโดยใช้ Raspberry Pi OS Bookworm ที่มีพื้นฐานจาก Debian 12 และ “tropical reviews” ของ CNX Software จะเยอะกว่ารีวิวอื่น ๆ เนื่องจากอุณหภูมิสภาพแวดล้อมสูง (ประมาณ 28°C ในห้องของฉัน) ในประเทศไทย บริษัท Raspberry Pi ได้ส่ง Raspberry Pi 5 พร้อมชุดอุปกรณ์ครบครัน พร้อมคีย์บอร์ด เมาส์ กล่องเคส และอื่นๆ อีกมากมาย เราจะเริ่มต้นบทความที่ดูฮาร์ดแวร์แกะกล่อง การประกอบ และลองใช้งานครั้งแรกด้วย Debian 12 บนบอร์ด SBC ใหม่ แกะกล่องชุดคิท Raspberry Pi 5 นอกจากบอร์ด Raspberry Pi 5 แล้ว ในแพ็คเกจยังมีเครื่องทำความเย็น active cooler พร้อมฮีทซิงค์และพัดลมระบายความร้อน, microSD card ที่ติดตั้ง Raspberry Pi OS เวอร์ชั่น Bookworm ไว้พร้อม […]

Radxa Zero 3W : บอร์ด SBC ที่ใช้ SoC Rockchip RK3566, RAM สูงสุด 8GB ในรูปแบบ Raspberry Pi Zero 2 W

RADXA Zero 3W

มีบอร์ด SBC ที่คล้ายกับ Raspberry Pi Zero 2 W มากขึ้นในตลาด รวมถึง Orange Pi Zero 2W ที่ใช้ Allwinner H618 ที่เปิดตัวไปแล้ว, และตอนนี้ Radxa ได้เปิดตัว Zero 3W พร้อมกับโปรเซสเซอร์ Rockchip RK3566 ความเร็ว 1.6 GHz และ RAM สูงสุด 8GB ทำให้เป็นหนึ่งในบอร์ด Arm Linux SBC ที่ทรงพลังที่สุด ใช้รูปแบบขนาดเล็กที่เป็นตามบอร์ด Raspberry Pi Zero 2 W form factor บอร์ดยังมาพร้อมกับตัวเลือก eMMC flash ที่รองรับความจุสูงสุดถึง 64GB, ช่องเสียบ microSD card, พอร์ต micro HDMI, พอร์ต USB Type-C จำนวน 2 พอร์ต, การเชื่อมต่อไร้สาย WiFi 4 และ Bluetooth 5.0, คอนเนกเตอร์กล้อง MIPI CSI และ GPIO header 40 ขาที่เป็นมาตรฐานของ Raspberry Pi สเปค Radxa Zero 3W: SoC – Rockchip RK3566 CPU – โปรเซสเซอร์ Quad-core Arm Cortex-A55 @ 1.6 GHz ( […]

เปิดตัว Linux 6.6 : การเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจของสถาปัตยกรรม Arm, RISC-V และ MIPS

Linux 6.6 release

Linus Torvalds ได้ประกาศเปิดตัว Linux 6.5 บน Linux Kernel Mailing List (LKML). เมื่อประมาณ 2 เดือนที่ผ่านมาได้เปิดตัว Linux 6.5 ที่มาพร้อมการรองรับเบื้องต้นสำหรับ USB4 v2 ที่มีความเร็วสูงสุดถึง 80Gbps, การอัพเกรดการรองรับ Rust, สถาปัตยกรรม Loongarch ได้รับการรองรับสำหรับ simultaneous multi-threading (SMT) และการสร้างด้วย Clang compiler, การเพิ่มส่วนขยายการอนุญาต หรือ permission-indirection extension (PIE) สำหรับ arm64 ในการกำหนดสิทธิด้านความปลอดภัยในอนาคต, การรองรับบอร์ด NVIDIA IGX Orin และ Jetson Orin Nano, และการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ อีกมากมาย มีอะไรที่น่าสนใจใน Linux 6.6 การเปลี่ยนแปลงและการอัปเดตที่น่าสนใจใน Linux 6.6 kernel ได้แก่: การรองรับฮาร์ดแวร์ Shadow Stack ของ Intel เพื่อป้องกันการใช้ช่องโหว่ Shadow Sta […]