Linus Torvalds ได้ประกาศเปิดตัว Linux 6.8 บน Linux kernel mailing list (LKML) เมื่อประมาณ 2 เดือนทีผ่านมาได้เปิดตัว Linux 6.7 โดยมี bcachefs ระบบ filesystem, มีการปรับปรุงประสิทธิภาพในการจัดคิวแบบ Fair Queuing เพื่อให้ระบบเครือข่ายมีประสิทธิภาพมากขึ้น, เพิ่มคุณสมบัติใหม่และการปรับปรุงสำหรับ perf profile tool, สถาปัตยกรรม LoongArchได้รับการรองรับด้วย KVM, ะการยกเลิกการรองรับสถาปัตยกรรม Itanium (ia64) ของ Intel และมีการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ อีกมากมาย การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญใน Linux 6.8 รองรับไดร์ฟเวอร์กราฟฟิค Intel Xer ซึ่งมีเป้าหมายที่จะแทนที่ไดรเวอร์ i915 เก่าสำหรับ GPU Intel ใหม่ ยังอยู่ช่วงทดลอง แต่สามารถเปิดใช้งานได้บนแพลตฟอร์ม Intel Tiger Lake และรุ่นใหม่กว่าได้แล้ว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและการทดสอบ […]
รีวีว Purple Pi OH (2GB/16GB) และ Purple Pi OH Pro (4GB /32GB) จาก Wireless-Tag
สวัสดีครับ วันนี้ผมจะมารีวิว single-board computer หรือ SBC ที่ชื่อว่า Purple Pi OH จาก Wireless-Tag ครับ อุปกรณ์นี้เป็นบอร์ดพัฒนาที่เข้ากันได้กับ Raspbery Pi ถูกออกแบบมาให้สามารถนำไปใช้งานได้หลายด้าน ทั้งการใช้งานอินเตอร์เน็ตทั่วไป หรือนำไปประยุกต์สร้างเป็นอุปกรณ์อัจฉริยะต่าง ๆ รวมถึงยังสามารถนำไปใช้งานด้าน Artificial Intelligence Internet of Things (AIOT) ได้อีกด้วย โดยผู้ผลิตส่งอุปกรณ์มาให้ผมทดสอบ 2 ชุด คือ Purple Pi OH รุ่นหน่วยความจำ 2GB ที่มี storage ขนาด 16GB รองรับ Wi-Fi 2.4G (ในรีวิวนี้จะเรียกย่อว่า Purple Pi OH) และ Purple Pi OH Pro รุ่นหน่วยความจำ 4GB ที่มี storage ขนาด 32GB รองรับ Wi-Fi 2.4G และ Wi-Fi 5G (ในรีวิวนี้จะเรียกย่อว่า Purple Pi OH Pro) คุณสมบัติทั่วไปของทั้งสองบอร์ดนี้จะคล้ายกันแทบทุกอย่ […]
Kaki Pi – บอร์ด SBC AI ที่ใช้ Renesas RZ/V2H ได้แรงบันดาลใจจาก Raspberry Pi
Yuridenki-Shokai Co. Ltd บริษัทในญี่ปุ่นได้เปิดตัวคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยว Kaki Pi โดยใช้ไมโครโปรเซสเซอร์ Renesas RZ/V2H Arm ที่เพิ่งเปิดตัวพร้อม AI accelerator 80 TOPS พร้อมมีฟอร์มแฟคเตอร์และคุณสมบัติที่ได้รับแรงบันดาลใจจาก Raspberry Pi เช่น Pin GPIO header 40 ขา, คอนเนกเตอร์ PCIe 3.0 แบบเดียวกับที่พบใน Raspberry Pi 5 และคอนเนกเตอร์ MIPI CSI 22 ขา 4 ช่องที่ดูเหมือนจะเข้ากันได้กับกล้อง Raspberry Pi บอร์ดยังมาพร้อมกับ LPDDR4 สูงสุด 8GB, microSD card สำหรับระบบปฏิบัติการ, คอนเนกเตอร์ MIPI DSI 22 ขาสำหรับจอแสดงผล, พอร์ต gigabit Ethernet, พอร์ต USB 3.0 2 พอร์ต, คอนเนกเตอร์ CAN Bus 2 ช่อง และอินเทอร์เฟสอื่นๆ บอร์ดเหมาะสำหรับการใช้งานด้านวิทยาการหุ่นยนต์ เช่น Autonomous Mobile Robots (AMR) เป็นหุ่นยนต์เคลื่อนที่อัตโนม […]
LuckFox Pico Pro และ Pico Max – บอร์ดที่ใช้ Rockchip RV1106 พร้อมรองรับ Ethernet 10/100M และรองรับกล้อง
LuckFox LuckFox Pico Pro และ Pico Max เป็นบอร์ดพัฒนาที่ใช้ Rockchip RV1106 ซึ่งมีแพลตฟอร์มการพัฒนาบน Linux สำหรับแอปพลิเคชัน IoT บอร์ดมีคุณสมบัติ Ethernet 10/100M, หน่วยความจำ DDR2 สูงสุด 256MB, และ NPU 0.5 TOPS สำหรับงานด้าน AI ด้วยการรองรับ Buildroot และ Ubuntu 22.04 บอร์ดนี้สามารถใช้สำหรับบ้านอัจฉริยะ, การตรวจสอบระยะไกล, และโปรเจกต์ที่มีการมีปรับ AI-enhanced อื่นๆ เราเคยเขียนบทความเกียวกับ LuckFox Core3566 ที่เป็นโมดูลทางเลือก Raspberry Pi Compute Module 4 และ LuckFox Pico บอร์ดกล้องที่ใช้ RV1103 SoC ซึ่งมีฟอร์มแฟคเตอร์ที่คล้ายกันและคุณสมบัติที่คล้ายกันกับโมดูลรุ่นใหม่นี้ แต่โมดูลรุ่นถูกสร้างขึ้นโดยใช้ RV1106 SoC ซึ่งมีโปรเซสเซอร์ Arm Cortex-A7 (สูงถึง 1.2GHz), RISC-V ที่เป็น co-processor, NPU 0.5 TOPS สำหรั […]
BrainChip เปิดรับ pre-order กล่อง Edge AI ที่ใช้ NXP i.MX 8M Plus SoC และโปรเซสเซอร์ Neuromorphic Akida AKD1000
BrainChip ได้เปิดรับ pre-order ของ Akida Edge AI Box โดยความร่วมมือกับ VVDN Technologies. กล่อง Edge AI ใช้ชิป NXP i.MX 8M Plus SoC และ โปรเซสเซอร์ Neuromorphic Akida AKD1000 2 อัน สำหรับการประมวลผล Edge AI ที่มีความหน่วงต่ำ (low-latency) และมีปริมาณมาก (high-throughput) กล่อง Edge AI มาพร้อมกับพอร์ต USB 3.0 และ micro-USB, HDMI, หน่วยความจำ LPDDR4 ขนาด 4GB, eMMC ขนาด 32GB พร้อมส่วนขยาย micro-SDXC สูงสุด 1TB, dual-band Wi-Fi และพอร์ต Gigabit Ethernet 2 พอร์ตสำหรับคอนเนกเตอร์กล้องภายนอก ทั้งหมดนี้อยู่ในกล่องเคสขนาดเล็กพร้อมระบบระบายความร้อนแบบพาสซีฟ และใช้แหล่งจ่ายไฟฟ้าแบบกระแสตรง DC 12V สเปคของกล่อง BrainChip Akida Edge AI: CHost CPU – NXP i.MX 8M Plus Quad SOC พร้อมโปรเซสเซอร์ Arm Cortex-A53 64 บิตที่รั […]
Vivid Unit – บอร์ด SBC แบบ low-profile ที่ใช้ Rockchip RK3399 พร้อมหน้าจอสัมผัส
Vivid Unit ของ UUGear เป็นบอร์ด SBC แบบ low-profile ที่มีหน้าจอสัมผัสขนาด 5.5 นิ้วความละเอียด 1280×720 ที่ใช้ Rockchip RK3399 hexa-core Cortex-A72/A53 SoC รุ่นเก่า พร้อม RAM 4GB และ eMMC flash ขนาด 32GB บอร์ดยังมาพร้อมกับการเชื่อมต่อ Gigabit Ethernet และ WiFi 4 รองรับที่จัดเก็บข้อมูล M.2 NVMe มีเอาต์พุต HDMI และอินพุตกล้อง MIPI CSI รวมทั้งมีการรวมลำโพงและไมโครโฟนสเตอริโอ และการรองรับส่วนขยายผ่าน รวมทั้งมี GPIO header 40-pin และ header สำหรับ ADC และ USB สเปคของ Vivid Unit: SoC – Rockchip RK3399 CPU – โปรเซสเซอร์ Hexa-core big.LITTLE พร้อม 2x Arm Cortex-A72 cores สูงสุด 1.8GHz, 4x Arm Cortex-A53 cores สูงสุด 1.4GHz GPU – Arm Mali-T860MP4 GPU AI accelerator – NPU 6 TOPS หน่วยความจำ – LPDDR4 4GB พื้นที่จัดเก็บ eMM […]
รีวิว : ODROID-M1S บอร์ด SBC ที่ใช้ Rockchip RK3566 ทดสอบประสิทธิภาพบน Ubuntu
หลังจากการแกะกล่องทดสอบการทำงานของ ODROID-M1S มากว่า 1 เดือน การทดสอบประสิทธิภาพโดยรวมทั้งหมดก็เสร็จสิ้น โดยการทดสอบทำบน Ubuntu 20.04.6 LTS เนื่องจากในเว็บของ hardkernel เองมี official image ถึงเวอร์ชั่นนี้เท่านั้น ซึ่งจากผลการทดสอบนี้ จะแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในด้านต่าง ๆ ของบอร์ด ODROID-M1S ที่ใช้ Rockchip RK3566 ในทุกด้าน โดยผลการทดสอบจะเป็นอย่างไรมาติดตามผลการทดสอบกันตามหัวข้อด้านล่างกันเลยดีกว่า การทดสอบประสิทธิภาพของ ODROID-M1S มาเริ่มการวัดประสิทธิภาพของ ODROID-M1S ด้วยสคริปต์ Thomas sbc-bench.sh กันเป็นอันดับแรก
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 |
odroid@gnome-desktop:~/sbc-bench$ sudo ./sbc-bench.sh -r Starting to examine hardware/software for review purposes... Average load and/or CPU utilization too high (too much background activity). Waiting... sbc-bench v0.9.60 Installing needed tools, tinymembench, ramlat, mhz, cpufetch, cpuminer. Done. Checking cpufreq OPP... Done. Executing tinymembench. Done. Executing RAM latency tester. Done. Executing OpenSSL benchmark. Done. Executing 7-zip benchmark. Done. Throttling test: heating up the device, 5 more minutes to wait. Done. Checking cpufreq OPP again. Done (16 minutes elapsed). Results validation: * Advertised vs. measured max CPU clockspeed: -1.4% before, -1.8% after -> https://tinyurl.com/32w9rr94 * Background activity (%system) OK # Hardkernel ODROID-M1S Tested with sbc-bench v0.9.60 on Sun, 21 Jan 2024 10:14:59 +0700. ### General information: Information courtesy of cpufetch: SoC: Rockchip RK3566 Technology: 22nm Microarchitecture: Cortex-A55 Max Frequency: 1.800 GHz Cores: 4 cores Features: NEON,SHA1,SHA2,AES,CRC32 Peak Performance: 57.60 GFLOP/s Rockchip RK3566 (35662000), Kernel: aarch64, Userland: arm64 CPU sysfs topology (clusters, cpufreq members, clockspeeds) cpufreq min max CPU cluster policy speed speed core type 0 0 0 408 1800 Cortex-A55 / r2p0 1 0 0 408 1800 Cortex-A55 / r2p0 2 0 0 408 1800 Cortex-A55 / r2p0 3 0 0 408 1800 Cortex-A55 / r2p0 7676 KB available RAM ### Governors/policies (performance vs. idle consumption): Original governor settings: cpufreq-policy0: performance / 1800 MHz (interactive conservative ondemand userspace powersave performance / 408 600 816 1104 1416 1608 1800) fde60000.gpu: performance / 800 MHz (vdec2_ondemand venc_ondemand userspace powersave performance simple_ondemand / 200 300 400 600 700 800) fdf40000.rkvenc: performance / 400 MHz (vdec2_ondemand venc_ondemand userspace powersave performance simple_ondemand / 297 400) fdf80200.rkvdec: performance / 400 MHz (vdec2_ondemand venc_ondemand userspace powersave performance simple_ondemand / 297 400) Tuned governor settings: cpufreq-policy0: performance / 1800 MHz fde60000.gpu: performance / 800 MHz fdf40000.rkvenc: performance / 400 MHz fdf80200.rkvdec: performance / 400 MHz Status of performance related policies found below /sys: /sys/devices/platform/fde60000.gpu/power_policy: [coarse_demand] always_on /sys/module/pcie_aspm/parameters/policy: default [performance] powersave powersupersave ### Clockspeeds (idle vs. heated up): Before at 44.4°C: cpu0 (Cortex-A55): OPP: 1800, Measured: 1775 (-1.4%) After at 59.4°C: cpu0 (Cortex-A55): OPP: 1800, Measured: 1767 (-1.8%) ### Performance baseline * memcpy: 2906.9 MB/s, memchr: 3139.8 MB/s, memset: 7952.8 MB/s * 16M latency: 180.7 183.8 181.6 183.0 180.2 181.9 244.0 451.9 * 128M latency: 217.3 194.0 190.3 193.6 189.0 194.1 251.4 482.6 * 7-zip MIPS (3 consecutive runs): 4581, 4575, 4612 (4590 avg), single-threaded: 1322 * `aes-256-cbc 156417.72k 398262.61k 654734.34k 780968.62k 827375.62k 827000.09k` * `aes-256-cbc 157146.64k 398160.17k 653565.10k 780867.58k 826146.82k 827419.31k` ### Storage devices: * 232.9GB "WD_BLACK SN770 250GB" SSD as /dev/nvme0: Speed 5GT/s (downgraded), Width x1 (downgraded), 0% worn out, drive temp: 47°C * 58.2GB "MMC64G" HS200 eMMC 5.1 card as /dev/mmcblk0: date 05/2023, manfid/oemid: 0x000032/0x0101, hw/fw rev: 0x0/0x0300000000000000 ### Software versions: * Ubuntu 20.04.6 LTS * Compiler: /usr/bin/gcc (Ubuntu 9.4.0-1ubuntu1~20.04.2) 9.4.0 / aarch64-linux-gnu * OpenSSL 1.1.1f, built on 31 Mar 2020 ### Kernel info: * `/proc/cmdline: storagemedia=emmc androidboot.storagemedia=emmc androidboot.mode=normal root=UUID=e104067f-7a88-4dea-9fc2-2b876ee3a6ca rootwait ro quiet console=tty1 console=ttyS2,1500000 pci=nomsi fsck.mode=force fsck.repair=yes` * Vulnerability Spectre v1: Mitigation; __user pointer sanitization * Kernel 5.10.0-odroid-arm64 / CONFIG_HZ=300 Kernel 5.10.0 is not latest 5.10.208 LTS that was released on 2024-01-15. Time CPU load %cpu %sys %usr %nice %io %irq Temp 10:15:06: 1800MHz 3.54 14% 1% 11% 0% 0% 0% 53.8°C 10:16:06: 1800MHz 1.30 0% 0% 0% 0% 0% 0% 48.3°C 10:17:06: 1800MHz 0.47 0% 0% 0% 0% 0% 0% 46.7°C 10:18:06: 1800MHz 0.17 0% 0% 0% 0% 0% 0% 45.0°C 10:19:06: 1800MHz 0.06 0% 0% 0% 0% 0% 0% 44.4°C |
จากผลการทดสอบ เมื่อทดสอบ stress จนอุณหภูมิขึ้นไปที่ 59.4 °C ไม่มีการจำกัดความเร็วของสัญญาณนาฬิกา CPU ในห้องที่มีอุณหภูมิแวดล้อมประมาณ 29°C, ในส่วนของแบนด์วิดท์ […]
Mcuzone MPS2280 – M.2 NVMe HAT สำหรับ Raspberry Pi 5 รองรับไดรฟ์ SSD Gen3 22110
Mcuzone MPS2280 M.2 NVMe HAT เป็นบอร์ดอะแดปเตอร์ PCIe to NVMe ออกแบบมาสำหรับ Raspberry Pi 5 สิ่งที่ทำให้บอร์ดนี้แตกต่างจากบอร์ดอื่นๆ คือ รองรับ SSD 2280 และมีตัวเลือกในการใช้ SSD 22110 พร้อมสายรัดซิปไทร์ ก่อนหน้านี้ เราได้กล่าวถึงบอร์ดขยาย PCIe to NVMe มากมาย เช่น Pimoroni NVMe Base, อะแดปเตอร์ Geekworm X1003 PCIe to NVMe SSD และ PineBerry Pi HatDrive เรามาดูสิ่งที่แตกต่างของอะแดปเตอร์ PCIe to NVMe ใหม่กัน สเปึของ Mcuzone MPS2280 M.2 NVMe HAT: รองรับ PCIe – เข้ากันได้กับอินเทอร์เฟส PCIe x1 โหมด Gen2 และ Gen3 ความเข้ากันได้ของ SSD – รองรับอินเทอร์เฟส M.2 M-key พร้อม SSD ขนาด 2280, 2242 และ 2230 และมีตัวเลือกสำหรับ 22110 SSD พร้อมสายรัดแบบซิปไทร์ (zip ties) การบูต SSD – เปิดใช้งานการบูตจาก NVMe SSD พร้อมตัวเลือกส […]