รีวิว Raspberry Pi 5 – Part 2: Raspberry Pi OS Bookworm, การทดสอบประสิทธิภาพ benchmarks การใช้พลังงาน และอื่นๆ

Raspberry Pi 5 Review Raspberry Pi OS Bookworm

เมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมาเราได้แกะกล่องชุด Raspberry Pi 5 ดูชุดอุปกรณ์และทดสอบการบูตด้วย Raspberry Pi OS bookworm ตอนนี้เราจะทำการทดสอบเพิ่มเติมเพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพด้วย Benchmarks และตรวจสอบคุณสมบัติต่างๆ บน Raspberry Pi 5 พร้อมทั้งเปรียบเทียบ Raspberry Pi 5 กับ Raspberry Pi 4 และบอร์ด Arm Linux SBC อื่นๆ ข้อมูลระบบใน Raspberry Pi OS Bookworm เราได้ติดตั้ง Raspberry Pi 5 ในเคสของมันเรียบร้อยแล้ว แต่สำหรับการทดสอบส่วนใหญ่จะกลับไปใช้บอร์ดเปลือยที่ติดตั้งระบบระบายความร้อนแบบแอคทีฟ เพราะเป็นตัวเลือกการระบายความร้อนที่ดีที่สุด ตามที่เราจะเห็นต่อไปในรีวิว ก่อนอื่นเรามาตรวจสอบข้อมูลระบบ

รีวิว youyeetoo X1 SBC ซิงเกิ้ลบอร์ด ที่ใช้ Intel Celeron N5105 พร้อม Ubuntu

youyeetoo X1 SBC with YYT MIPI7LCD

youyeetoo X1 SBC เป็นซิงเกิ้ลบอร์ดคอมพิวเตอร์ที่ใช้ Intel Celeron N5105  4คอร์ 4เทรด ความเร็ว 2.9GHz ซึ่งเป็น  Intel Gen 11 ในตระกูล Jasper Lake เป็นหน่วยประมวลผลหลัก โดยมี RAM และ eMMC ให้เลือกได้ตามการใช้งานเริ่มตั้งแต่ RAM 4GB ไปจนถึง RAM 16GB และ eMMC สามารถเลือกไม่เอา eMMC ไปจนถึง eMMC ขนาด 256GB ซึ่งมาพร้อมกับการเชื่อมต่อใช้งานที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็นคอนเน็คเตอร์ M.2 ทั้ง M คีย์ และ E คีย์ สำหรับเชื่อมต่อ Wi-Fi, 4G LTE หรือ SSD ไปจนถึงการต่อจอภาพได้ทั้ง MIPI DSI และ HDMI ความละเอียดสูงถึง 4K พร้อมการสื่อสารทั้ง UART,I2C,SPI และ NFC ซึ่งไม่ว่าคุณจะเป็นเมกเกอร์, นักพัฒนางาน IoT, SI งานสมาร์ทโซลูชั่นต่าง ๆ บอร์ด youyeetoo X1 SBC ก็สามารถตอบโจทย์การเอาไปใช้งานได้หลากหลายทั้งงานควบคุมในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ งานไอ […]

BeagleV-Fire : บอร์ด SBC ที่ใช้ Microchip PolarFire RISC-V SoC FPGA รองรับ BeagleBone capes

BeagleV-Fire SBC

BeagleV-Fire เป็นคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยว (SBC) รุ่นใหม่ที่ใช้ Microchip PolarFire MPFS025T penta-core RISC-V SoC FPGA และมี Form Factor เหมือนกับบอร์ด BeagleBone Black เพื่อให้เข้ากันได้กับบอร์ดขยาย BeagleBone capes Microchip PolarFire RISC-V SoC FPGA เป็นหนึ่งใน RISC-V SoC ที่สามารถรันระบบปฏิบัติการ Linux ได้ และใช้ในบอร์ดราคาแพง เช่นบอร์ดพัฒนา Icicle และ TySOM-M-MPFS250 ฉันยังได้รับบอร์ด Icicle มาเพื่อทดสอบ และการเริ่มต้นใช้งาน Yocto Linux BSP สามารถทำได้ดี แต่ฉันก็เจอปัญหาอย่างมากกับส่วนของ FPGA รวมถึงการติดตั้ง Libero SoC ใน Ubuntu, บอร์ด BeagleV-Fire ที่ใช้ PolarFire มีราคาถูกกว่ามาก และคาดว่าจะช่วยให้เริ่มต้นกับทั้ง Linux และ FPGA Fabric ได้ง่ายขึ้นผ่านเอกสารประกอบและตัวอย่างโค้ดที่เข้าใจง่ายกว่า สเปคของ B […]

รีวิวชุด Raspberry Pi 5 – Part 1: แกะกล่อง การประกอบ และลองใช้งานครั้งแรก

Raspberry Pi 5 Kit Review Raspberry Pi OS boot

ฉันพร้อมที่กับการรีวิว Raspberry Pi 5 ที่บริษัทส่งมาให้เมื่อเดือนที่แล้ว ฉันจะทำการรีวิวโดยใช้ Raspberry Pi OS Bookworm ที่มีพื้นฐานจาก Debian 12 และ “tropical reviews” ของ CNX Software จะเยอะกว่ารีวิวอื่น ๆ เนื่องจากอุณหภูมิสภาพแวดล้อมสูง (ประมาณ 28°C ในห้องของฉัน) ในประเทศไทย บริษัท Raspberry Pi ได้ส่ง Raspberry Pi 5 พร้อมชุดอุปกรณ์ครบครัน พร้อมคีย์บอร์ด เมาส์ กล่องเคส และอื่นๆ อีกมากมาย เราจะเริ่มต้นบทความที่ดูฮาร์ดแวร์แกะกล่อง การประกอบ และลองใช้งานครั้งแรกด้วย Debian 12 บนบอร์ด SBC ใหม่ แกะกล่องชุดคิท Raspberry Pi 5 นอกจากบอร์ด Raspberry Pi 5 แล้ว ในแพ็คเกจยังมีเครื่องทำความเย็น active cooler พร้อมฮีทซิงค์และพัดลมระบายความร้อน, microSD card ที่ติดตั้ง Raspberry Pi OS เวอร์ชั่น Bookworm ไว้พร้อม […]

Radxa Zero 3W : บอร์ด SBC ที่ใช้ SoC Rockchip RK3566, RAM สูงสุด 8GB ในรูปแบบ Raspberry Pi Zero 2 W

RADXA Zero 3W

มีบอร์ด SBC ที่คล้ายกับ Raspberry Pi Zero 2 W มากขึ้นในตลาด รวมถึง Orange Pi Zero 2W ที่ใช้ Allwinner H618 ที่เปิดตัวไปแล้ว, และตอนนี้ Radxa ได้เปิดตัว Zero 3W พร้อมกับโปรเซสเซอร์ Rockchip RK3566 ความเร็ว 1.6 GHz และ RAM สูงสุด 8GB ทำให้เป็นหนึ่งในบอร์ด Arm Linux SBC ที่ทรงพลังที่สุด ใช้รูปแบบขนาดเล็กที่เป็นตามบอร์ด Raspberry Pi Zero 2 W form factor บอร์ดยังมาพร้อมกับตัวเลือก eMMC flash ที่รองรับความจุสูงสุดถึง 64GB, ช่องเสียบ microSD card, พอร์ต micro HDMI, พอร์ต USB Type-C จำนวน 2 พอร์ต, การเชื่อมต่อไร้สาย WiFi 4 และ Bluetooth 5.0, คอนเนกเตอร์กล้อง MIPI CSI และ GPIO header 40 ขาที่เป็นมาตรฐานของ Raspberry Pi สเปค Radxa Zero 3W: SoC – Rockchip RK3566 CPU – โปรเซสเซอร์ Quad-core Arm Cortex-A55 @ 1.6 GHz ( […]

เปิดตัว Linux 6.6 : การเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจของสถาปัตยกรรม Arm, RISC-V และ MIPS

Linux 6.6 release

Linus Torvalds ได้ประกาศเปิดตัว Linux 6.5 บน Linux Kernel Mailing List (LKML). เมื่อประมาณ 2 เดือนที่ผ่านมาได้เปิดตัว Linux 6.5 ที่มาพร้อมการรองรับเบื้องต้นสำหรับ USB4 v2 ที่มีความเร็วสูงสุดถึง 80Gbps, การอัพเกรดการรองรับ Rust, สถาปัตยกรรม Loongarch ได้รับการรองรับสำหรับ simultaneous multi-threading (SMT) และการสร้างด้วย Clang compiler, การเพิ่มส่วนขยายการอนุญาต หรือ permission-indirection extension (PIE) สำหรับ arm64 ในการกำหนดสิทธิด้านความปลอดภัยในอนาคต, การรองรับบอร์ด NVIDIA IGX Orin และ Jetson Orin Nano, และการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ อีกมากมาย มีอะไรที่น่าสนใจใน Linux 6.6 การเปลี่ยนแปลงและการอัปเดตที่น่าสนใจใน Linux 6.6 kernel ได้แก่: การรองรับฮาร์ดแวร์ Shadow Stack ของ Intel เพื่อป้องกันการใช้ช่องโหว่ Shadow Sta […]

CanMV-K230 : บอร์ดพัฒนา AI ที่ใช้ Kendryte K230 โปรเซสเซอร์ RISC-V dual-core 64 บิต

CanMV-K230 development board

CanMV-K230 เป็นบอร์ดพัฒนาในขนาดเท่าบัตรเครดิตสำหรับการใช้งาน AI และ computer vision ที่ใช้ Kendryte K230 โปรเซสเซอร์ RISC-V แบบ dual-core 64 บิต พร้อม built-in KPU (Knowledge Process Unit)  และอินเทอร์เฟส เช่น อินพุต MIPI CSI และ Ethernet Kendryte K210 โปรเซสเซอร์ RISC-V AI รุ่นแรกเปิดตัวในปี 2018 ซึ่งฉันเคยทดสอบกับบอร์ด Grove AI HAT และ Maixduino และรู้สึกสนุกกับทดลองใช้งาน แต่มีประสิทธิภาพที่จำกัด ต่อจากนั้นบริษัทได้เปิดตัว K510 โปรเซสเซอร์ AI ระดับกลาง พร้อม AI accelerator 3 TOPS ที่ทรงพลังยิ่งขึ้น และ K230 รุ่นที่ต่อยอดมาจากรุ่น K210 ซึ่งได้รวางแผนไว้สำหรับปี 2022 ในแผนงานปี 2021 ตอนนี้เพิ่งเปิดตัวและถูกรวมเข้ากับบอร์ดพัฒนา CanMV-K230 สเปค CanMV-K230: SoC – Kendryte K230 CPU โปรเซสเซอร์ RISC-V 64 บิต ที่ควา […]

รีวิว DSOM-020 PX30 Development Board ที่ใช้ Industrial grade CPU แบบพลังงานต่ำ

DSOM 020 PX30 Development Board zigbee gateway test

DSOM-020 PX30 Development Board จากบริษัท Dusun IoT ประกอบด้วย SOM DSOM-020 PX30 สำหรับงาน Industrial  ที่เน้นความสเถียรและประหยัดพลังงาน โดยใช้ชิป PX30K จาก Rockchip ซึ่งเป็นหน่วยประมวลผลแบบกินพลังงานต่ำแบบ 64-bit จำนวนสี่คอร์ สถาปัตยกรรมเป็น Arm Cortex-A35 ความเร็วสูงสุดของสัญญาณนาฬิกา 1.3 GHz  รองรับระบบปฎิบัติการที่หลากหลาย และยังมาพร้อมกับความสามารถในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอกที่ครบครันตั้งแต่จอภาพ,ไมโครโฟนไปจนถึงการเชื่อมต่อเซ็นเซอร์ต่าง ๆ และ carrier board เรียกรวมกันทั้งหมดเป็น DSOM-020 PX30 Development Board เพื่อให้ทำต้นแบบอุปกรณ์ต่าง ๆ และหากต้องการผลิตเชิงพานิชย์ก็สามารถที่จะซื้อเฉพาะ SOM DSOM-020 PX30 ไปผลิตได้ ซึ่งในเว็บไซต์ของ Dusun IoT เองแนะนำว่า DSOM-020 PX30 นั้นเหมาะกับงานต่างดังนี้ อุปกรณ์ A […]