บอร์ด Olimex ESP32-POE2 ให้กำลังไฟฟ้าสูงสุด 25W สำหรับแอปพลิเคชันที่ใช้พลังงานมาก

ESP32-POE2

Olimex ผู้ผลิตฮาร์ดแวร์ได้ออกแบบบอร์ด ESP32 ใหม่พร้อมฟังก์ชัน Power over Ethernet (PoE) บอร์ด Olimex ESP32-POE2 เป็นรุ่นพัฒนาจาก ESP32-POE รุ่นเดิมและใช้โมดูลไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32-WROOM-32 เหมือนกันกันพร้อมการเชื่อมต่อ Wi-Fi และ Bluetooth แต่ความแตกต่างคือ ESP32-POE2  สามารถรองรับการจ่ายพลังงานได้สูงสุดถึง 25W จากพอร์ต Ethernet ผ่าน PoE และสามารถนำไปใช้ในโครงการที่มีความต้องการพลังงานมาก บอร์ด Olimex ESP32-POE2 มีการออกแบบที่ใช้พลังงานต่ำและใช้พลังงานเพียง 200µA ในโหมด deep sleep,  บอร์ดสามารถจ่ายไฟผ่านแบตเตอรี่ USB-C, Ethernet หรือ Li-Po ได้ อินเทอร์เฟส Ethernet ใช้ชิป TPS2378PW ของ Texas Instruments พร้อมรองรับ IEEE 802.3at และรองรับ PoE แบบเดิม การจ่ายไฟด้วย PoE ต้องใช้ไฟอย่างน้อย 37V DC พื่อให้การทำงานเป็ […]

Open Home Foundation จะเป็นผู้ดูแล Home Assistant, ESPHome, Zigpy สำหรับโครงการสมาร์ทโฮมที่มีมากกว่า 240 โครงการ

Open Home Foundation

มูลนิธิ Open Home Foundation เป็นองค์กรไม่แสวงผลกำไรจะเป็นผู้ดูแลจัดการ Home Assistant, ESPHome, Zigpy, Piper และ Improv Wi-Fi รวมถึงมาตรฐาน ไดรเวอร์ และไลบรารี สำหรับการใช้งานโครงการสมาร์ทโฮมที่มีมากกว่า 240 โครงการ โดยมีเป้าหมายเพื่อ Privacy รักษาความเป็นส่วนตัว, Choice สามารถเลือกใช้อุปกรณ์สมาร์ทโฮมได้อย่างอิสระ และ Sustainability ส่งเสริมความยั่งยืนสำหรับอุปกรณ์สมาร์ทโฮม องค์กรไม่แสวงผลกำไรนี้เปิดตัวในงาน “State of the Open Home 2024” (สามารถดูวิดีโอที่ท้ายบทความนี้) กับ Nabu Casa บริษัทที่หากำไรเชิงพาณิชย์ที่อยู่เบื้องหลัง Home Assistant ถ่ายโอนโครงการทั้งหมดของบริษัทไปยังองค์กรใหม่ใหม่ และ นอกจากนี้ Open Home Foundation ยังจะช่วยในการพัฒนาโครงการภายนอกที่สำคัญ เช่น Z-Wave JS, WLED, Rhasspy และ […]

Louder Raspberry Pi เครื่องเล่นเสียงภายในบ้านแบบ open-source ที่ใช้ Raspberry Pi Zero และ TI TAS5805M DAC

louder raspberry pi

Louder Raspberry Pi เป็นเครื่องเล่นเสียงภายในบ้านแบบ open-source โดยใช้ Raspberry Pi Zero W หรือ Zero 2 W และ Texas Instruments TAS5805M DAC เป็นแพลตฟอร์มความบันเทิงด้านเสียงที่สร้างโดย Andriy Malyshenko จากบริษัท Sonocotta, เป็น Maker ที่มีความสนใจด้านอิเล็กทรอนิกส์จากประเทศโปแลนด์ Louder Raspberry Pi ได้รวม Computing Power (พลังการประมวลผล) ของ Raspberry Pi Zero และความสามารถในการประมวลผลเสียง Hi-Fi ของ TI TAS5805M DAC มาไว้ในเคสอะลูมิเนียมขนาดเล็ก อุปกรณ์นี้ให้เอาต์พุตสเตอริโอสูงสุด 25W ต่อช่องสัญญาณ และจ่ายไฟผ่านอะแดปเตอร์ 65W+ USB-C PD3.0, สามารถที่จะจับคู่กับระบบลำโพงขนาดกลางถึงใหญ่ และรองรับทั้ง Wi-Fi และ Ethernet บอร์ด Raspberry Pi เหนือบอร์ด lightweight รุ่นอื่นๆ เนื่องจากความง่ายในการพัฒนาและขนาดของบอ […]

ไดรเวอร์โอเพ่นซอร์ส NPU ของ Rockchip RK3588 สามารถทำการตรวจจับวัตถุที่ 30 FPS

Rockchip RK3588 open-source NPU driver

Tomeu Vizoso ได้ทำการพัฒนาเกี่ยวกับไดรเวอร์โอเพ่นซอร์สสำหรับ NPU (Neural Processing Unit) ที่พบใน SoC Rockchip RK3588 ในช่วงสองสามเดือนที่ผ่านมา และโครงการก้าวหน้าไปอย่างมากสาารถตรวจจับวัตถุที่ความเร็ว 30 fps (เฟรมต่อนาที) โดยใช้โมเดล SSDLite MobileDet และเพียงหนึ่งในสามคอร์ของ AI accelerator ปัจจุบันมีโปรเซสเซร์หลายรุ่นที่รวม AI accelerators ที่ทำงานร่วมกับไดรเวอร์แบบ closed-source แต่เราได้เห็นการใช้หลักการ reverse-engineering บน NPU ของ Allwinner V831 และเมื่อต้นปีนี้ Tomeu Vizoso เปิดตัวไดรเวอร์โอเพ่นซอร์ส Etvaniv ที่ทำงานบน Vivante NPU ของ Amlogic A311D และตอนนี้ Tomeu ได้เริ่มต้นทำการย้ายไดรเวอร์ Teflon TensorFlow Lite ไปยัง Rockchip RK3588 NPU ซึ่งมีการอ้างอิงกับ NVDLA open-source IP ของ NVIDIA Tomeu  เร […]

unPhone – แพลตฟอร์ม IoT เพื่อการศึกษาที่ใช้ชิป ESP32-S3 พร้อมหน้าจอสัมผัส, LoRaWAN, Wi-Fi, Bluetooth

unPhone ESP32-S3 IoT development platform

unPhone เป็นแพลตฟอร์ม IoT แบบโอเพ่นซอร์สที่ถูกพัฒนาโดย Pimoroni ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเชฟฟิลด์ ซึ่งสร้างขึ้นโดยใช้ชิปไมโครคอนโทรลเลอร์ไร้สาย ESP32-S3, unPhone เป็นอุปกรณ์ที่ไม่ใช่มือถือ สามารถใช้งานง่ายและควบคุมข้อมูลได้มาก นอกจากมีชิป ESP32-S3 แล้ว ยังมีหน้าจอสัมผัสขนาด 3.5 นิ้ว 320×480, LoRaWAN, Wi-Fi, Bluetooth, มอเตอร์สั่น, ตัววัดความเร่งหรือ accelerometer และคุณสมบัติอื่นๆ ออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานได้ในการสอนและสร้างต้นแบบอย่างรวดเร็ว พร้อมทั้งใช้งานในด้าน aquaponics ได้ด้วย คุณสมบัติและส่วนประกอบที่สำคัญของ unPhone โมดูลไร้สาย – ESP32-S3-WROOM-1U-N8 MCU –  ESP32-S3 dual-core Tensilica LX7 สูงสุด 240 MHz พร้อม SRAM 512KB และ PSRAM 8MB ที่เก็บข้อมูล – Quad SPI flash 8MB Wireless – 2.4 GHz WiFi 4 และ Bluetooth L […]

LattePanda Mu เป็น Compute Module x86 ที่ใช้ซีพียู Intel Processor N100

LattePanda Mu x86 Compute Module N100

LattePanda Mu เป็น Compute Module/system-on-module ที่ใช้ซีพียู Intel Processor N100 quad-core Alder Lake-N ที่ได้รับความนิยม สามารถรันระบบปฏิบัติการ Windows หรือ Linux ได้ และเน้นให้ทรงพลังมากกว่า Raspberry Pi 5 และ Raspberry Pi CM5 (Compute Module 5) ที่กำลังจะเปิดตัวเร็วๆ นี้ LattePanda Mu ไม่ได้ปฏิบัติตามมาตรฐาน SoM ใดๆ แต่มีฟอร์มแฟกเตอร์แบบกำหนดเอง 69.6 x 60 มม. โดยใช้คอนเนกเตอร์ขอบ SO-DIMM 260 ขา โมดูลนี้มาพร้อมกับ RAM 8GB และ eMMC flash  64GB ตามค่าเริ่มต้น และอินเทอร์เฟสแบบ expose ผ่านคอนเนกเตอร์ Edge (PCIe, USB, Ethernet, HDMI…) ทำให้เหมาะสำหรับการใช้งานที่หลากหลาย เช่นอุปกรณ์ IoT, หุ่นยนต์, ป้ายโฆษณาดิจิทัล และ Edge computing ผ่านบอร์ดฐาน (carrier boards) สเปคของ LattePanda Mu: SoC – โปรเซสเซอร์ Intel […]

เปิดตัว Kodi 21.0 Omega พร้อม FFmpeg 6, รองรับ LG webOS และอื่นๆ

Kodi 21.0 omega

Kodi 21.0 “Omega” เปิดตัวพร้อมกับเวอร์ชันล่าสุดของ Open-Source Media Center ที่เพิ่ม 3,750 commits นับตั้งแต่การเปิดตัวของ Kodi 20.0 “Nexus” เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2023 ที่เพิ่มการถอดรหัสฮาร์ดแวร์ AV1 ใน Android และ x86 เวอร์ชันใหม่ของ Kodi 21.0 โดยอัปเดต FFmpeg เป็นเวอร์ชัน 6 และเพิ่มการรองรับ webOS บนทีวี LG หลังจากใช้หลักการ reverse-engineering และใช้คุณสมบัติใหม่ เช่น การแปลงโปรไฟล์ Dolby Vision ขณะเล่นวิดีโอในอุปกรณ์ Android, การใช้การจัดการหน้าต่างที่เป็นธรรมชาติบน macOS โดยที่ไม่ต้องใช้ไลบรารี SDL และฟังก์ชันการดูผู้เล่นในเกมเพื่อดูว่าคอนโทรลเลอร์ของแต่ละผู้เล่นถูกเชื่อมต่อกับพอร์ตเกมใด การเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่ไม่ได้เกี่ยวข้องผู้ใช้โดยตรง แต่เป็นการปรับปรุงระบบเพื่อให้เสถียรภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของ […]

โดรน DIY ที่ใช้ ESP32 ใช้งบประมาณในการสร้าง 440฿

DIY ESP32 Drone

ทีมงาน Circuit Digest ได้ออกแบบโดรน DIY ราคาถูกที่ควบคุมด้วยโมดูล ESP32 โดยใช้แผ่น PCB แบบกำหนดเองและชิ้นส่วนที่มีจำหน่ายในร้านค้าทั่วไป ซึ่งงบประมาณในการสร้างประมาณ 1,000 รูปี หรือประมาณ 440฿ โดรน DIY ESP32 ได้รับการออกแบบให้เป็นทางเลือกแทนโดรน DIY ที่มีราคาแพงกว่า ซึ่งโดยทั่วไปจะมีราคาเกือบ $70(~2,500฿) ผลลัพธ์ที่ได้คือโดรนมีขนาดเท่าฝ่ามือและควบคุมผ่าน WiFi โดยใช้สมาร์ทโฟน และไม่ใช้ชิ้นส่วนที่สร้างจากการพิมพ์ 3D Printer โดยใช้แผ่น PCB เป็นโครงลำของโดรน คุณสมบัติและส่วนประกอบสำคัญของโดรน DIY ESP32 โมดูลไร้สาย – ESP32-WROOM-32 สำหรับการควบคุม WiFi โดยใช้สมาร์ทโฟน ที่เก็บข้อมูล – ช่องเสียบ MicroSD card slot เซนเซอร์ – MPU6050 IMU สำหรับการควบคุมความเสถียร การขับเคลื่อน 4x 720 มอเตอร์คัพแบบไม่มีแกน (coreless) ใบพ […]