รีวิว ซิงเกิ้ลบอร์ด YY3568 : แกะกล่อง ดูสเปค และทดลองใช้งานบน Android 11

YY3568 board Rockchip RK3568

บริษัท youyeetoo ได้ส่งบอร์ด YY3568 ซึ่งมีพื้นฐานมาจาก chip Rockchip RK3568 ที่ความเจ๋งคือ NPU และการเชื่อมต่อที่มีให้เลือกมากมาย เอาล่ะเรามาเริ่มแกะกล่องทำความรู้จักความน่าใช้งานของมันเลยดีกว่า แกะกล่อง บอร์ด YY3568 เป็นซิงเกิ้ลบอร์ด จากบริษัท youyeetoo ซึ่งจากรูปลักษณ์แล้วถือว่าบอร์ดออกแบบมาตอบโจทย์ของนักพัฒนาจะตอบโจทย์ยังไงเรามาดูรูปแกะกล่องไปด้วยกันเลยดีกว่า จากรูปด้านล่างเราจะเห็นว่าชุดบอร์ดจะประกอบด้วยบอร์ด Backplane และ บอร์ด YY3568-Core ซึ่งตัว core board ก็จะมีหลายรุ่นให้เลือกที่ขนาดของ eMMC และ  RAM ที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งบอร์ดที่ได้นำมารีวีวนี้จะมีสเปคเป็น eMMC 64GB และ RAM ขนาด 8G ซึ่งจะพบว่าให้ความจุเพื่อเก็บข้อมูลที่ค่อนข้างสูงเลยทีเดียว RAM ขนาด 8GB ก็สามารถนำมาใช้งานกับแอพพลิเคชั่นได้ครอบคลุมตั้ […]

วิธีตรวจสอบค่า TDP (ระดับจำกัดการใช้พลังงาน PL1 และ PL2) ใน Windows และ Linux

TDP Intel core i7 11390H

ค่า TDP (Thermal Design Power) เป็นค่าพลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นที่ปล่อยออกมาขณะทำงาน มีหน่วยเป็นวัตต์ (W) จะมีให้สำหรับโปรเซสเซอร์ Intel และ AMD เพื่อช่วยผู้ผลิตในการออกแบบโซลูชันระบบระบายความร้อนที่เหมาะสม และใช้เพื่อประเมินโปรเซสเซอร์รุ่นนั้นกินไฟมากขนาดไหน แต่ค่า TDP สามารถกำหนดค่าได้ และผู้ผลิตอาจเพิ่มหรือลดค่า เพื่อประสิทธิภาพสูงขึ้นหรือการใช้พลังงานที่น้อยลง ดังนั้นเราจะแนะนำวิธีตรวจสอบค่า TDP หรือ PL1 (Power Limit 1)  และ PL2 (Power Limit 2) ที่แม่นยำขึ้นทั้งใน Windows 11 และLinux (Ubuntu 22.04) หมายเหตุ TDP จะถูกแทนที่ด้วย PBP (Processor Base Power) ในโปรเซสเซอร์รุ่นใหม่ โดย PL1 (Long Duration ตรงกับ BPB และ PL2 (Short Duration) เป็น Maximum Turbo Power (MTP) หรือค่าพลังงานที่ใช้สูงสุดในการเร่งการทำงาน […]

รีวิว WisGate Connect Gateway ที่มีระบบ Private LoRaWAN Platform พร้อมใช้งานอยู่ในตัวเดียวกัน

WisGate Connect Gateway

WisGate Connect Gateway จากบริษัท RAKwireless มีจุดเด่นนอกเหนือจากการทำหน้าที่เป็นเกตเวย์ปกติ เหมือนเกตเวย์ทั่วๆไปแล้ว เรายังสามารถทำให้เกตเวย์ดังกล่าว ทำหน้าที่เป็นเครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้บริการงานต่างๆได้อีกด้วย ซึ่งเราไม่ค่อยจะได้เห็นผลิตภัณฑ์ในท้องตลาด ที่มีความสามารถสูงและยืดหยุ่นแบบนี้ จึงเป็นที่มาขอการรีวิวแนะนำให้เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป RAK7391 WisGate Connect เป็นผลิตภัณฑ์เกตเวย์ที่ใช้ Raspberry Pi CM4 เพื่อรองรับโมดูลสัญญาณวิทยุ และโมดูล WisBlock ที่แตกต่างกัน มีอินเทอร์เฟซที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองความต้องการของนักพัฒนาที่แตกต่างกัน ซึ่งรวมถึง HDMI, Ethernet, USB, mPCIe, CSI, DSI, M.2, WisBlock, PoE และ Raspberry Pi HAT แน่นอนว่ายังสามารถใช้เป็นผลิตภัณฑ์เกตเวย์ LoRaWAN พื้นฐาน ที่รองรับโมดูลแยกกันได้ถึง […]

WiFi 7 (IEEE 802.11be) รองรับความเร็วสูงสุด 40 Gbps แอปพลิเคชันแบบเรียลไทม์

Key features of WiFi 7 802.11be

Wi-Fi 7 (IEEE 802.11be)  มีคลื่นความถี่ 2.4GHz, 5GHz และ 6GHz เหมือนกับ WiFi 6/6E แต่เร็วมากกว่าถึง 2.4 เท่า มีอัตราการส่งข้อมูลที่สูงขึ้นและเวลาแฝง (Latency) ที่ต่ำ แม้จะมีจำนวนสายอากาศเท่ากัน เนื่องจาก WiFi 7 สามารถใช้ช่องสัญญาณ 320Mhz และรองรับเทคโนโลยี 4K QAM (quadrature amplitude modulation) ข้อมูลเกี่ยวกับชิปประมวลผล MediaTek Filogic 802.11be WiFi 7 สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ในเอกสารชื่อ “Current Status and Directions of IEEE 802.11be, the Future Wi-Fi 7” จาก IEEE Xplore คุณสมบัติหลักบางประการใน WiFi 7: สามารถส่งข้อมูลความเร็วสูงสุดถึง 40 Gbps แบนด์วิธเพิ่มขึ้นถึง 320 MHz และสูงกว่านั้น 4K-QAM เพิ่มอัตราสูงสุด ซึ่งช่วยให้อัตราการส่งข้อมูล ประสิทธิภาพที่สูงขึ้น spatial stream สูงสุดถึง 16x ในการใช้งาน […]

รีวิว Link.ONE ชุดพัฒนา IoT แบบ all-in-one รองรับการเชื่อมต่อ LTE-M, NB-IoT และ LoRaWAN

review RAKwireless Link.ONE

บริษัท RAKwireless ได้ออกผลิตภัณท์ใหม่ในชื่อ Link.ONE ออกแบบมาเพื่อให้เป็นบอร์ดพัฒนาอุปกรณ์ IoT ด้วยโปรแกรม Arduino IDE แบบ all-in-one รองรับการเชื่อมต่อ LTE-M, NB-IoT และ LoRaWAN อยู่ในอุปกรณ์เดียวกัน ครอบคลุมเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายระยะไกลที่ใช้พลังงานต่ำ (LPWAN : Low Power Wide Area Network) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้เราสามารถเลือกใช้ช่องทางหลักในการสื่อสารไร้สาย และกำหนดช่องทางสื่อสารไร้สายสำรองเอาไว้ให้พร้อม เมื่อใดที่ช่องทางสื่อสารหลักใช้งานไม่ได้ เราก็สามารถเปลี่ยนไปใช้ช่องทางสำรองแทนได้ เป็นผลทำให้อุปกรณ์ IoT จะยังคงสามารถรับ-ส่งข้อมูลได้อยู่ตลอดเวลา Features Link.ONE เป็นการนำเอาบอร์ด มาใส่ในกล่อง WisBlock Unify Enclosure ขนาด 100 x 75 x 38 mm. พร้อมลิเธียมแบตเตอร์แบบชาร์จได้ 3.7 Volts ความจุ 3200 mAh […]

รีวิว SenseCAP Indicator D1Pro : หน้าจอสัมผัส 4 นิ้วใช้ ESP32-S3 และ Raspberry Pi RP2040 เป็นแพลตฟอร์มสำหรับการพัฒนาอุปกรณ์ IoT

SenseCAP Indicator D1Pro review

SenseCAP Indicator D1Pro มีหน้าจอสัมผัสใหญ่ขนาด 4 นิ้ว ที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ 2 ตัว ประกอบด้วย ESP32-S3 และ Raspberry Pi RP2040 รองรับการสื่อสาร WiFi/Bluetooth/LoRa มาพร้อมกับอินเทอร์เฟซ Grove 2 ช่อง ผ่านโปรโตคอลการส่งข้อมูลแบบ ADC & I2C และพอร์ต USB Type-C 2 พอร์ต ที่มีขาขยาย GPIO อยู่ภายใน ดังนั้นผู้ใช้สามารถขยายอุปกรณ์เสริมภายนอกผ่านพอร์ต USB ได้อย่างง่ายดาย จึงเป็นแพลตฟอร์มสำหรับการพัฒนาอุปกรณ์ IoT (Internet of Things) แบบโอเพ่นซอร์สที่ทรงพลังอย่างมาก Features Dual MCU and Rich GPIOs มาพร้อมกับ Espressif ESP32-S3 และ Raspberry Pi RP2040 อันทรงพลัง และ GPIO ที่เข้ากันได้กับ Grove มากกว่า 400 ตัว ทำให้ต่อขยายที่ยืดหยุ่นได้มาก Real-time Air Quality Monitoring การตรวจสอบคุณภาพอากาศแบบเรียลไทม์ เซ็นเซอร์ tV […]

รีวิว MaTouch ESP32-S3 4-inch Display Demo Kit จาก Makerfabs

การแสดงผลบนหน้าจอของบอร์ด Matouch ESP32-S3 4 Inch Display

ชุดเดโม่คิทจาก Makerfabs ชื่อ MaTouch ESP32-S3 4-inch Display ชุดบอร์ดพัฒนาไมโครคอนโทรเลอร์ ESP32-S3 ที่มาพร้อมจอภาพทัชสกรีนแบบสี่เหลี่ยมจตุรัสขนาด 4 นิ้ว ที่จัดชุดมาพร้อมเซ็นเซอร์วัด TVOC และกล้องวัดค่าอุณหภูมิสำหรับการทดลองใช้งานหลาย ๆ ด้าน เช่น การทำกรอบรูปอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องวัดคุณภาพอากาศหรืออุปกรณ์คัดกรองผู้ป่วย แกะกล่อง เมื่อเราแกะกล่องก็จะพบกับอุปกรณ์ตามรูปประกอบด้วยรายการต่าง ๆ ดังนี้ บอร์ด MaTouch  ESP32-S3 4-inch Display ซึ่งมีคุณสมบัติดังนี้ Controller: ESP32-S3-WROOM-1, PCB Antenna, 16MB Flash, 8MB PSRAM, ESP32-S3-WROOM-1-N16R8 Wireless: WiFi& Bluetooth 5.0 LCD: 4.0-inch High Lightness IPS, 480*480 FPS: >50 LCD interface: RGB 5/6/5+ SPI, ST7701S Touch Panel: 5 Points Touch, Capacitive Touc […]

รีวิว : บอร์ด RejsaCAN-ESP32-S3 กับรถยนต์ในการควบคุมหรืออ่านค่าอุปกรณ์ในรถโดยใช้โปรแกรม Arduino

banner RejsaCAN ESP32 S3

บอร์ด RejsaCAN-ESP32-S3 เหมาะสำหรับนักพัฒนาที่ต้องการสร้างโปรเจคเกี่ยวกับรถยนต์ ควบคุมหรืออ่านค่าอุปกรณ์บนรถได้ผ่าน CAN BUS พร้อมการเชื่อมต่อไร้สายทั้ง Wi-Fi 2.4 GHz และ Bluetooth 5 (LE) เหมาะสำหรับงาน IoT นำข้อมูลของรถ หรือเซ็นเซอร์ที่ต่อกับบอร์ด ส่งไปยัง App, Cloud หรือเก็บไว้ใน SD Card บนบอร์ด ตัวบอร์ดออกแบบให้มีขนาดเล็กพอที่จะติดตั้งในรถยนต์ได้ ตัวบอร์ดพัฒนามาจากรุ่นก่อนที่ใช้ MCU ESP32 ซึ่งรุ่นนี้เปลี่ยนไปใช้ ESP32-S3  โดยสเปคหลักแล้วใกล้เคียงกัน แต่ ESP32-S3 มี Main processor ที่ใหม่กว่าคือ Xtensa 32-bit LX7 dual core ส่วน ESP32 เป็นรุ่น LX6 การเชื่อมต่อ Bluetooth ซึ่งบน ESP32-S3 เป็น BLE 5.0 แล้วบนบอร์ดรุ่นก่อนหน้า ESP32 ต้องใช้ชิป USB to Serial ในการสื่อสาร หรืออัพโหลดโปรแกรมผ่าน PC  แต่บน ESP32-S3 มีพอ […]

Exit mobile version