LuckFox Pico เป็นบอร์ดกล้อง Linux ขนาดเล็กที่ใช้ Rockchip RV1103 Cortex-A7 และ RISC-V AI camera SoC และมีพอร์ต Ethernet ใน PCB ในรุ่นที่มีขนาด PCB ยาวว่าชื่อว่า LuckFox Pico Plus ทั้งสองรุ่นมาพร้อมกับ RAM ขนาด 64MB (ฝังอยู่ใน RV1103), ช่องเสียบ microSD card เพื่อการจัดเก็บข้อมูล, คอนเน็กเตอร์ MIPI CSI camera, พอร์ต USB Type-C สำหรับจ่ายไฟ และมีรู through holes สำหรับขยายผ่าน GPIO, I2C, UART และอื่นๆ สเปค LuckFox Pico และ Pico Plus: SoC – Rockchip RV1103 พร้อมโปรเซสเซอร์ Arm Cortex-A7 @ 1.2GHz, RISC-V core, DDR2 64MB ,NPU 0.8 TOPS , 4M @ 30 fps USP การจัดเก็บข้อมูล ช่องเสียบ MicroSD card เฉพาะ LuckFox Plus – SPI flash (W25N01GV) 1Gbit (128MB) กล้อง – คอนเนกเตอร์ MIPI CSI 2-lane ระบบเครือข่าย ( เฉพาะ LuckFox Pico […]
โมดูลที่ใช้ซีพียู SemiDrive D9-Pro (D9360) Arm Cortex-A55/R5 สำหรับงานด้าน Motor Control
MYiR MYC-JD9360 เป็นโมดูลซีพียู ที่ใช้โปรเซสเซอร์ SemiDrive D9-Pro (D9360) พร้อม six Arm Cortex-A55 application cores, dual-core lock-step Cortex-R5 real-time core พร้อม PowerVR GPU, 4Kp30 H. 265/H.264 VPU และ NPU 0.8 TOPS และออกแบบมาสำหรับการควบคุมการทำงานของมอเตอร์ (Motor Control) และงานด้านอุตสาหกรรม โมดูลซีพียู MYC-JD9360 ยังมาพร้อมกับ LPDDR4 2GB, flash eMMC 16GB, QSPI Flash 16MB, EEPROM 256Kbit และขา I/O เช่น PCIe 3.0, USB 3.0, CAN FD และ TSN-enabled Gigabit Ethernet ผ่านคอนเนกเตอร์ MXM 314 ขา บริษัทยังมีบอร์ดพัฒนา MYD-JD9360 เพื่อเริ่มต้นใช้งานโมดูลและประเมินผลโซลูชันได้อย่างรวดเร็ว MYiR MYC-JD9360 โมดูลซีพียูพร้อม SemiDrive D9-Pro SoC สเปค SoC – SemiDrive D9-Pro (D9360) CPU Application – โปรเซสเซอร์ He […]
TRACEPaw: ขาหุ่นยนต์ใช้ machine learning พร้อมบอร์ด Arduino Nicla Vision
สุนัขหรือแมวไม่ได้เดินบนถนนยางมะตอยเพียงอย่างเดียวมันต้องเดินบนน้ำแข็งหรือทราย โดยใช้การมองเห็นด้วยตาและสัมผัสพื้นด้วยปลายประสาทแล้วปรับตัวตามสภาพ โปรเจค TRACEPaw open-source ซึ่งย่อมาจาก “Terrain Recognition And Contact force Estimation through Sensorized Legged Robot Paw” มีเป้าหมายเพื่อนำความสามารถแบบเดียวมาใช้กับหุ่นยนต์ที่มีขา Autonomous Robots Lab (ห้องปฏิบัติการหุ่นยนต์อิสระ) บรรลุเป้าหมายนี้โดยใช้ บอร์ด Arduino Nicla Vision ซึ่งใช้ประโยชน์จากกล้องและไมโครโฟนเพื่อรัน machine learning models บนไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32H7 Cortex-M7 เพื่อระบุประเภทของพื้นและประมาณการแรงที่ใช้บนขา” แต่กล้องไม่ได้ใช้เพื่อดูที่พื้นแต่ใช้เพื่อดูการเปลี่ยนรูปของซิลิโคนรูปกึ่งวงกลม ซึ่งทำจาก “Dragon Skin” ที่ปลายข […]
myCobot Pro 600 หุ่นยนต์แขนกลที่ใช้ Raspberry Pi 4 มีระยะพื้นที่การทำงาน 600 มม. รับน้ำหนักยกของได้ 2 กก.
Elephant Robotics ได้เปิดตัว myCobot Pro 600 หุ่นยนต์แขนกล 6 DoF ที่ทันสมัยที่สุด โดยใช้ Raspberry Pi 4 SBC มีระยะพื้นที่การทำงานเส้นผ่านศูนย์กลาง 600 มิลลิเมตร และรับน้ำหนักในการยกของได้สูงสุด 2 กิโลกรัม เราเคยเขียนบทความหุ่นยนต์แขนกล myCobot ของ Elephant Robotics ที่ใช้ Raspberry Pi 4, ESP32 , Jetson Nano หรือ Arduino และยังได้รีวิว myCobot 280 Pi โดยเขียนโปรแกรมด้วย Python และ Visual และ myCobot Pro 600 รุ่นใหม่ ที่ใช้ Raspberry Pi 4 ด้วยคุณสมบัติที่เหมือนกันแต่การออกแบบที่ใหญ่ขึ้นทำให้สามารถใช้ในพื้นที่ได้มากขึ้นและรับน้ำหนักกับวัตถุที่หนักกว่าได้ สเปค myCobot Pro 600: SBC – คอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยว Raspberry Pi 4 MCU – ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 dual-core 240 MHz (600 DMIPS) พร้อม SRAM 520KB, Wi-Fi และ Bluet […]
Tungsten700 : SMARC SoM และ DevKit ที่ใช้ชิป MediaTek Genio 700 สำหรับ AIoT
Laird Connectivity Tungsten700 SOM เป็น SMARC system-on-module ที่ใช้ชิป MediaTek Genio 700 ซึ่งเป็นหน่วยประมวลผล AIoT บน Arm Cortex-A78/A55 พร้อม LPDDR4 สูงสุด 8GB, eMMC flash 16GB และโมดูล Sona MT320 Wi-Fi 6/Bluetooth 5.3 ที่ใช้ชิปเซ็ต Filogic 320 บอร์ดนี้ถูกออกแบบโดย Boundary Devices และได้ถูกเข้าซื้อกิจการโดย Laird, Tungsten700 มาพร้อมกับบอร์ดฐาน SMARC 2.1 carrier board ที่สามารถใช้สำหรับการพัฒนาหรือใช้เป็นคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยวที่รวมอยู่ในการออกแบบ โมดูล Tungsten700 SMARC สเปค Tungsten700 : SoC – MediaTek Genio 700 (MT8390) CPU – โปรเซสเซอร์ Octa-core พร้อม 2x Arm Cortex-A78 cores @ สูงสุด 2.2 GHz, 6x Arm Cortex-A55 cores @ สูงสุด 2.0 GHz GPU – ARM Mali-G57 MC3 GPU VPU ใน “หน่วยประมวลผลวิดีโอ” […]
รีวิว: ชุดหุ่นยนต์ BocoBot ขับเคลื่อนด้วยบอร์ดขยาย Robo Pico กับ Raspberry Pi Pico W
ชุดหุ่นยนต์ BocoBot เป็นชุดหุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้ที่ขับเคลื่อนด้วยบอร์ดขยาย Robo Pico กับ Raspberry Pi Pico W มีวิดีโอในการติดตั้งและโค้ดตัวอย่าง 5 ภารกิจ ไม่ว่าจะเป็นการเคลื่อนที่ไปทิศทางต่างๆ การเคลื่อนที่หลบหลีกสิ่งกีดขวางด้วยเซนเซอร์ Ultrasonic การเคลื่อนที่แบบตรวจจับแสง การเดินตามเส้น และการเคลื่อนที่ด้วย Web Browse ผ่านการเชื่อมต่อแบบ WiFi และยังสามารถเพิ่มเติมโมดูลต่างๆเข้าไปได้อีกและสร้างสรรค์ผลงานได้ตามจินตนาการอีกด้วย อุปกรณ์ในชุด BocoBot บอร์ดขยาย Robo Pico จำนวน 1 ชิ้น แผงเซนเซอร์ Maker Line จำนวน 1 ชิ้น แผ่นฐานพลาสติก จำนวน 2 แผ่น TT มอเตอร์ 6 โวลต์ จำนวน 2 ชิ้น ล้อหุ่นยนต์ จำนวน 2 ล้อ ตัวยึดมอเตอร์ จำนวน 2 ชิ้น เสารองพลาสติก จำนวน 4 ชิ้น ล้อประคอง จำนวน 1 ชิ้น เซนเซอร์อ่านค่าแสง จำนวน 1 ชิ้น เ […]
Yahboom DOFBOT : หุ่นยนต์แขนกล 6 DoF รองรับ AI Vision โดยใช้ Jetson Nano
หุ่นยนต์แขนกลอาจจะมีราคาสูงโดยเฉพาะรุ่นที่รองรับ AI Vision แต่หุ่นยนต์แขนกล Yahboom DOFBOT ที่ออกแบบมาสำหรับ NVIDIA Jetson Nano นั้นเป็นทางเลือกที่ราคาต่ำกว่า โดยหุ่นยนต์แขนกล 6 DoF มีราคาประมาณ $289 (~10,000฿) พร้อม VGA camera, หรือ $481 (~16,000฿) พร้อม Jetson Nano SBC ก่อนหน้านี้เราได้เผยแพร่บทความรีวิวหุ่นยนต์แขนกล myCobot 280 Pi จาก Elephant Robotics และสามารถใช้งานได้ดีโดยใช้ บอร์ด Raspberry Pi 4 เป็นส่วนประกอบหลักในการควบคุมและมีแพคเกจสวยงาม มีราคาเริ่มต้นประมาณ $800 (~27,000฿) ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์เสริม และมีผู้อ่าน 1 รายบ่นว่า “ มีราคาสูงเกินไปสำหรับผู้เริ่มต้น ” หุ่นยนต์แขนกล DOFBOT สามารถสร้างงาน DIY ได้มากกว่า และราคาก็เหมาะสำหรับผู้ที่เริ่มต้นในการเรียนรู้การศึกษาเกี่ยวกับหุ่นยนต์แขนกล ส่วนประกอบและข้ […]
เปิดตัว Linux 6.4 กับเปลี่ยนแปลงสถาปัตยกรรม Arm, RISC-V และ MIPS
Linus Torvalds ได้ประกาศเปิดตัว Linux 6.4 บน Linux Kernel Mailing List (LKML) เมื่อประมาณ 2 เดือนที่ผ่านมาได้เปิดตัว Linux 6.3 มีการดำเนินการของกลไกการป้องกันการโจมตี Spectre ของ AMD ที่เรียกว่า “automatic IBRS”, การพัฒนา Rust โดยมีการรองรับ User-mode Linux (บนระบบ x86-64 เท่านั้น), ระบบไฟล์ NFS (สำหรับ Client และ Server) การรองรับกการเข้ารหัส (Encryption) AES-SHA2, kernel สามารถติดตั้ง built-in Dhrystone benchmark ซึ่งช่วยให้สามารถทดสอบประสิทธิภาพขณะที่ทำการเปิดใช้งาน SoC ได้, มีการเพิ่มอุปกรณ์ WiFi ใหม่ด้วยอุปกรณ์ RealTek RTL8188EU (rtl8xxxu) และอุปกรณ์ Qualcomm Wi-Fi 7 (ath12k) รวมถึงการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ อีกมากมาย จุดเด่นของ Linux 6.4 มีการเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจใน Linux 6.4 ได้แก่: สามารถรองรับคุณสมบัติ linea […]