Banana Pi BPI-WiFi6 Mini : บอร์ดเราเตอร์ dual GbE และ WiFi 6 พร้อมการเชื่อมต่อ 4G LTE หรือ 5G

Banana Pi BPI-WIFI6 Mini

Banana Pi BPI-WiFi6 Mini เป็นบอร์ดเราเตอร์ WiFi 6 และพอร์ต Gigabit Ethernet คู่ ที่มีราคาไม่แพง พร้อมซ็อกเก็ต M.2 Key-B และช่องเสียบ Nano SIM card slot สำหรับเพิ่มการเชื่อมต่อเซลลูล่าร์ 4G LTE หรือ 5G ซึ่งเป็นเวอร์ชั่นขนาดเล็กของบอร์ดเราเตอร์ Banana Pi BPI-WiFi 6 ที่ใช้โปรเซสเซอร์ Triductor TR6560 แบบ dual-core Arm Cortex-A9 และชิปเซ็ต WiFi 6 Triductor TR5220 โดยมีรูปแบบเหมือนกับบอร์ดเราเตอร์ Banana BPI-R3 Mini แบบ low-profile ที่ใช้ชิป MediaTek Filogic 830 SoC   สเปคของ Banana Pi BPI-WiFi6 Mini: SoC – Triductor TR6560 dual-core Arm Cortex-A9 processor @ 1.2 GHz พร้อม LSW (Line-Card Switching) และฮาร์ดแวร์ NAT สูงสุด 5 Gbps ชิปเซ็ต WiFi – ชิปเซ็ต Triductor TR5220 WiFi 6 หน่วยความจำ – RAM แบบ DDR3 ขนาด 128M […]

โมดูลเสริม ESP8266 Deauther สำหรับอุปกรณ์แฮกไร้สาย Flipper Zero เพื่อระบบความปลอดภัย Wi-Fi และการวิจัย

Flipper Zero ESP8266 Deauther board

PCB Studios เปิดตัวบอร์ดอะแดปเตอร์ “Flipper Zero ESP8266 Deauther” สำหรับอุปกรณ์แฮกไร้สายแบบพกพา Flipper Zero โมดูลนี้ช่วยให้ผู้ใช้สามารถทำการโจมตีแบบ de-authentication บนเครือข่าย Wi-Fi ได้ บอร์ดนี้ใช้ซอฟต์แวร์ ESP8266 Deauther เวอร์ชันที่ได้รับการปรับแต่งของ SpacehuhnTech ซึ่งมีความสามารถหลากหลายสำหรับการทดสอบเครือข่ายไร้สาย 802.11 ฟังก์ชันหลักของมันคือการทำ deauthentication โดยจะส่งแพ็กเก็ต deauthing ไปยังเครือข่ายเป้าหมายเพื่อยกเลิกการเชื่อมต่ออุปกรณ์จากเครือข่าย Wi-Fi ที่ใช้คลื่น 2.4 GHz เราเคยเขียนบทความเกี่ยวกับ Flipper Zero โดยล่าสุดเราเขียนเกี่ยวกับ Flipper Add-On CANBus ที่เพิ่มความสามารถในการสื่อสารผ่าน CAN bus ให้กับอุปกรณ์แฮ็กไร้สาย ซึ่งทำให้ผู้ใช้สามารถตรวจจับ ส่ง และบันทึกแพ็กเกจ CAN bus นอกจากนี […]

รีวิว Radxa X4 Kit : บอร์ด SBC ที่ใช้ Intel N100 – แกะกล่องและติดตั้ง Ubuntu 24.04 (Part 1)

Radxa x4 SBC review

บริษัท Radxa เป็นบริษัทนวัตกรรมที่มุ่งเน้นในด้านซิงเกิ้ลบอร์ด ได้เปิดตัวคอมพิวเตอร์ซิงเกิ้ลบอร์ดที่มีการเลือกใช้โปรเซสเซอร์ Intel N100 แทนที่จะเป็น SOC แบบ Arm และมีไมโครคอนโทรลเลอร์ Raspberry Pi RP2040 รวมอยู่ด้วยบนบอร์ดในชื่อ Radxa X4 ความน่าสนใจคือ Radxa X4 เป็นบอร์ดคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีฟอร์มแฟคเตอร์คล้ายกับบอร์ด Raspberry Pi 5 แต่มีความแตกต่างที่สำคัญ โดย Radxa X4 ใช้โปรเซสเซอร์ Intel “Alder Lake N” N100 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่าและรวมถึงมีการใช้งาน Raspberry Pi RP2040 ไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อใช้งานในการควบคุม GPIO จำนวน 40 พิน นอกจากนี้บอร์ดยังมาพร้อมกับการเชื่อมต่อแบบ M.2 M-key ที่รองรับ PCI Express 3.0 4-lane  และ Wi-Fi 6 ทำให้ Radxa X4 เป็นตัวเลือกที่น่าสนใจสำหรับผู้ที่ต้องการบอร์ดคอมพิวเตอร […]

Abluetech เปิดตัวโมดูล PTR7002 WiFi 6 และ PTR5302 WiFi 6 และ BLE 5.4, ที่ใช้ชิปไร้สาย Nordic Semi nRF7002/nRF5340

PTR5302 nRF7002 nRF5340 WiFi 6 BLE module

บริษัท Abluetech ในเซินเจิ้นได้เปิดตัวโมดูลไร้สายพลังงานต่ำสองรุ่นที่ใช้ชิปไร้สาย Nordic Semi nRF7002 และ nRF5340 โดยโมดูล PTR7002 เป็นโมดูล WiFi 6 แบบ dual-band ที่ใช้ชิป nRF7002 และโมดูล PTR5302 รวมชิป nRF7002 เข้ากับไมโครคอนโทรลเลอร์ไร้สาย nRF5340 เพื่อรองรับการเชื่อมต่อ WiFi 6 แบบ dual-band และ Bluetooth LE 5.4 โมดูล Abluetech PTR7002 WiFi 6 แบบ dual-band พร้อมชิป nRF7002 สเปค PTR7002: ชิปเซ็ต – Nordic Semi nRF7002 การสื่อสารไร้สาย (Wireless) Wi-Fi 6 แบบ Dual-band Tx power – สูงสุด +21dBm Rx sensitivity – -96.5dBm @ 2.4GHz / -90.5dBm @ 5GHz PHY bandwidth – สูงสุด 86 Mbps (MCS7) 1SISO; bandwidth 20MHz โหมด – Station, Wi-Fi Direct, Soft AP (การทำงานเฉพาะ Wi-Fi 4), โหมด Station +Soft AP/Wi-Fi Direct/Station พร […]

LILYGO T-TWR REV2.1 : บอร์ดวิทยุสื่อสาร (Walkie-Talkie) ที่ใช้ ESP32 พร้อมหน้าจอ, GNSS และโมดูล SA868

LILYGO T-TWR REV2.1

LILYGO ได้เปิดตัวเวอร์ชันอัพเดตของ T-TWR บอร์ดพัฒนาวิทยุสื่อสาร (Walkie-Talkie) ที่ใช้ ESP32 นั่นคือ T-TWR REV2.1 บอร์ดใหม่นี้ไม่เพียงแต่มี Wi-Fi และ Bluetooth เท่านั้น แต่ยังมีโมดูล GPS เพื่อเพิ่มฟังก์ชันในการใช้งานอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีวงจรจับคู่ RF front-end ใหม่ที่สามารถปรับตั้งค่าให้ทำงานได้ทั้งในย่านความถี่ VHF และ UHF บอร์ดนี้มีสามารถใช้งานได้หลากหลายและสามารถเขียนโปรแกรมด้วย Arduino IDE สำหรับการใช้งานต่างๆ ได้ ความแตกต่างหลักระหว่าง T-TWR รุ่นเดิมและ T-TWR REV2.1 รุ่นใหม่คือโมดูลใหม่มีการจัดการพลังงานที่ดีกว่าด้วยตัวชาร์จ PWM AXP2102 สำหรับแบตเตอรี่ single-cell ซึ่งช่วยให้สามารถใช้ USB , แบตเตอรี่ 21700 หรือแบตเตอรี่ 18650 ได้ ในขณะที่ T-TWR รุ่นเดิมรองรับเฉพาะ USB และแบตเตอรี่ 18650 เท่านั้น บอร์ดรุ่น […]

LILYGO T-QTC6 – อุปกรณ์ตัวควบคุม IoT ที่ใช้ ESP32-C6 พร้อมหน้าจอ LCD แบบสัมผัส 0.85 นิ้ว

ESP32-C6 IoT controller

LILYGO T-QTC6 เป็นอุปกรณ์ตัวควบคุมสำหรับงาน IoT ขนาดเล็กที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32-C6 ซึ่งรองรับ WiFi 6, Bluetooth 5.4 LE และ 802.15.4 พร้อมหน้าจอ LCD สีแบบสัมผัสขนาด 0.85 นิ้ว ที่สามารถใช้พลังงานผ่าน USB-C หรือแบตเตอรี่ LiPo โดยที่บอร์ดยังรองรับการชาร์จไฟอีกด้วย อุปกรณ์นี้บางครั้งเรียกว่า “T-QT C6” ยังมาพร้อมกับคอนเนคเตอร์ female 8 ขา ที่มี GPIO 5 ขา และคอนเนคเตอร์ Qwiic สำหรับโมดูล UART, มีผลิตภัณฑ์ในตระกูล T-QT ที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ไร้สาย ESP32 และหน้าจอขนาด 0.85 นิ้ว ที่เราเคขเขียนบทความไปเช่น T-QT Pro หรือ T-QT V1.1. แต่สิ่งเหล่านั้นเป็นบอร์ดพัฒนา ในขณะที่ T-QTC6 รู้สึกเหมือนเป็นอุปกรณ์ที่สมบูรณ์แบบมากกว่า สเปคของ LILYGO T-QTC6: โมดูลไร้สาย – Espressif Systems ESP32-C6-MINI-1U SoC – ESP32- […]

บอร์ด Challenger+ RP2350 WiFi6/BLE5 ที่ใช้ชิป Raspberry Pi RP2350 กับโมดูล ESP32-C6 WiFi 6 และ Bluetooth 5.4 LE

Raspberry Pi RP2350 board ESP32 C6 WiFi module

คุณไม่ต้องรอ Raspberry Pi Pico 2 W เพื่อให้ได้บอร์ด Raspberry Pi RP2350 ที่มี WiFi และ Bluetooth เพราะมีบอร์ด Challenger+ RP2350 WiFi6/BLE5 ที่รวมชิปไมโครคอนโทรลเลอร์ RP2350A กับโมดูล ESP32-C6 ที่รองรับการเชื่อมต่อแบบ 2.4 GHz WiFi 6 และ Bluetooth 5.4 LE บอร์ดนี้ใช้ Adafruit Feather form factor โดยมีรู (Through holes) 28-pin สำหรับ I/O ทำให้สามารถเข้ากันได้กับบอร์ดเสริม FeatherWings มาพร้อมพอร์ต USB-C สำหรับการจ่ายไฟและการเขียนโปรแกรม และมีคอนเนกเตอร์ JST พร้อมวงจรชาร์จสำหรับผู้ที่ต้องการเชื่อมต่อกับแบตเตอรี่ LiPo สเปคของบอร์ด Challenger+ RP2350 WiFi6/BLE5: ไมโครคอนโทรลเลอร์– Raspberry Pi RP2350A MCU CPU Dual-core Arm Cortex-M33 processor @ 150MHz Dual-core 32-bit RISC-V processor @ 150MHz สามารถใช้งานได้เพียง 2 […]

MechDog หุ่นยนต์สุนัข AI ที่ใช้ ESP32-S3 รองรับการเขียนโปรแกรม Scratch, Python และ Arduino

MechDog AI Robot Dog

MechDog ของ Hiwonder เป็นหุ่นยนต์สุนัข AI ขนาดเล็กกะทัดรัดที่ใช้ ESP32-S3 เป็นตัวควบคุมมีเซอร์โวมอเตอร์ไร้แกนความเร็วสูง 8 ตัว หุ่นยนต์ตัวมีระบบการคำนวน inverse kinematics ในตัวสำหรับการเคลื่อนไหวที่แม่นยำและคล่องตัว และมีพอร์ตสำหรับเซนเซอร์ I2C ต่างๆ เช่น เซนเซอร์อัลตราโซนิกและ IMU หุ่นยนต์ตัวนี้ใช้โครงสร้างเป็นอะลูมิเนียมอัลลอยด์ที่ทนทานและแบตเตอรี่ลิเธียม 7.4V 1,500mAh ที่สามารถถอดออกได้เพื่อจ่ายพลังงาน MechDog ใช้โมดูล AI Vision ของ ESP32-S3 ซึ่งรองรับการสื่อสารเครือข่ายแบบสองโหมด คือ โหมด AP Hotspot Direct Connection หรือ STA LAN Mode เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงหน้าเว็บที่กำหนดผ่านแอปมือถือหรือคอมพิวเตอร์สำหรับการตรวจสอบแบบเรียลไทม์โดยใช้กล้องความละเอียดสูง นอกจากนี้ หุ่นยนต์สุนัขนี้ยังรองรับโมดูลเซนเซอร์ต […]

Exit mobile version