บอร์ด Olimex RT1010-Py ที่ใช้ MCU NXP i.MX RT1011 Cortex-M7 ความเร็ว 500 MHz สามารถรัน MicroPython ได้

Olimex RT1010-Py

Olimex RT1010-Py เป็นบอร์ดพัฒนาขนาดเล็กที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ NXP i.MX RT1011 Cortex-M7 ที่มีความเร็ว 500 MHz และถูกออกแบบมาเพื่อรัน MicroPython และเร็วกว่า Raspberry Pi Pico ประมาณ 4 เท่า บอร์ดมาพร้อมกับ GPIO headers 20-pin 2 แถว ที่แสดงอินเทอร์เฟซต่างๆ เช่น SPI และ I2C, ช่องเสียบ microSD card slot สำหรับจัดเก็บข้อมูล, มี 2 ปุ่ม และพอร์ต USB-C Type สำหรับจ่ายไฟและเขียนโปรแกรม RT1010-Py ยังมีตัวเชื่อมต่อ fuEXT 12-pin เพื่อเชื่อมต่อโมดูล UEXT ของ Olimex ผ่านสายเคเบิลแบบ flat cable สเปค Olimex RT1010-Py: SoC – NXP iMX RT1011 crossover microcontroller พร้อม Arm Cortex-M7 โอเวอร์คล็อกที่ 500 MHz และ SRAM/TCM 128KB ที่เก็บข้อมูล – SPI Flash 2MB  , ช่องเสียบ microSD card slot USB – 1x พอร์ต USB 2.0 OTG Type-C การขยา […]

Renesas RA8M1 : ชิปไมโครคอนโทรลเลอร์ Arm Cortex-M85 ตัวแรกของโลก

Renesas RA8M1 Arm Cortex-M85 microcontroller

Renesas RA8M1 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ Arm Cortex-M85 ความเร็วสูงสุด 480 MHz  ที่มพร้อมเทคโนโลยี Arm Helium เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผล DSP และ machine learning บนไมโครคอนโทรลเลอร์ Cortex-M และจากการทดสอบ EEMBC CoreMark ให้ประสิทธิภาพ สูงสุดถึง 6.39 CoreMark/MHz  หรือมากกว่า 3,000 CoreMark ที่ความเร็ว 480 MHz.. Arm Cortex-M85 ได้เปิดตัวครั้งแรกในเดือนเมษายน 2022 เป็นทางเลือกที่เร็วกว่า Cortex-M7 และและมาพร้อมเทคโนโลยี Arm Helium ใหม่ที่ให้ประสิทธิภาพของ machine learning คล้ายกับโปรเซสเซอร์แอปพลิเคชัน Cortex-M55 ในช่วงปีที่ผ่านมาเราได้รับข้อมูลบางส่วนเกี่ยวกับ Renesas Cortex-M85 ที่กำลังจะมาถึงในปีที่แล้ว และในที่สุดก็มีไมโครคอนโทรลเลอร์ Cortex-M85 ตัวแรกของโลก คุณสมบัติและสเปคที่สำคัญของ Renesas RA8M1: MCU […]

MediaTek Genio 1200 EVK พร้อมชิปประมวลผล Arm Cortex-A78/A55 รองรับ Ubuntu 22.04 อย่างเป็นทางการแล้ว

Mediatek Genio 1200 Ubuntu

Canonical และ MediaTek ได้ประกาศเกี่ยวกับ Ubuntu images ที่ถูกปรับแต่งให้ทำงานได้อย่างเต็มที่บน Genio 1200 EVK ในงาน Embedded Word 2023 เมื่อเดือนมีนาคมปีที่แล้ว แต่ในเวลานั้นยังไม่มี Images สำหรับดาวน์โหลด และมีเพียงคำเชิญให้คุณมาชม Ubuntu Core ที่ทำงานบนแพลตฟอร์ม MediaTek Genio ในงานนั้นเท่านั้น และตอนนี้ Canonical ได้ประกาศความพร้อมของ Ubuntu 22.04 Desktop และ Server ไม่เพียงแต่สำหรับ Genio 1200 EVK รุ่นระดับไ high-end เท่านั้น ยังรวมถึง Genio 700 EVK รุ่นระดับ mid-range และ Genio 350 EVK รุ่นระดับ entry ด้วย ฉันเคยทดสอบ ประสิทธิภาพของหน่วยประมวลผล i-Pi SMARC 1200 devkit เมื่อมิถุนายน 2023 ที่ใช้โปรเซสเซอร์ Genio 1200 Arm Cortex-A78/A55 (หรือ MediaTek MT8195 ) ผลลัพธ์ออกมาดีจริงๆ ในการทดสอบ แต่ในเวลานั้น มีต […]

CanMV-K230 : บอร์ดพัฒนา AI ที่ใช้ Kendryte K230 โปรเซสเซอร์ RISC-V dual-core 64 บิต

CanMV-K230 development board

CanMV-K230 เป็นบอร์ดพัฒนาในขนาดเท่าบัตรเครดิตสำหรับการใช้งาน AI และ computer vision ที่ใช้ Kendryte K230 โปรเซสเซอร์ RISC-V แบบ dual-core 64 บิต พร้อม built-in KPU (Knowledge Process Unit)  และอินเทอร์เฟส เช่น อินพุต MIPI CSI และ Ethernet Kendryte K210 โปรเซสเซอร์ RISC-V AI รุ่นแรกเปิดตัวในปี 2018 ซึ่งฉันเคยทดสอบกับบอร์ด Grove AI HAT และ Maixduino และรู้สึกสนุกกับทดลองใช้งาน แต่มีประสิทธิภาพที่จำกัด ต่อจากนั้นบริษัทได้เปิดตัว K510 โปรเซสเซอร์ AI ระดับกลาง พร้อม AI accelerator 3 TOPS ที่ทรงพลังยิ่งขึ้น และ K230 รุ่นที่ต่อยอดมาจากรุ่น K210 ซึ่งได้รวางแผนไว้สำหรับปี 2022 ในแผนงานปี 2021 ตอนนี้เพิ่งเปิดตัวและถูกรวมเข้ากับบอร์ดพัฒนา CanMV-K230 สเปค CanMV-K230: SoC – Kendryte K230 CPU โปรเซสเซอร์ RISC-V 64 บิต ที่ควา […]

รีวิวอุปกรณ์เทคโนโลยี Z-Wave – RaZberry 7 Pro และ Z-Uno2

RaZberry 7 Pro & Z Uno2

เมื่อเร็วๆนี้เราได้รับ RaZberry 7 Pro และ Z-Uno2 ซึ่งเป็นอุปกรณ์ Smart Home ที่ใช้ Z-Wave เทคโนโลยีจากบริษัท Z-Wave.Me มาทำการทดสอบ บริษัทนี้สร้างผลิตภัณฑ์บน Z-Wave เทคโนโลยีเป็นหลัก และเป็นสมาชิกของ Z-Wave Alliance สำหรับหลายคนที่ปวดหัวกับปัญหาของคลื่นความถี่ที่ทับซ้อนกันมากมายในย่าน 2.4GHz (Wifi, Zigbee,Thread) เทคโนโลยี Z-Wave เป็นทางเลือกที่ดีมากๆ เพราะใช้คลื่นความถี่ในย่าน 800-900 MHz ที่แออัดน้อยลง นอกเหนือจากนั้นเทคโนโลยี Z-Wave ยังมีมาช้านานกว่า 20 ปี ทำให้มีอุปกรณ์ที่ใช้ Z-Wave มากมายในท้องตลาดและสามารถใช้ร่วมกันข้ามค่ายได้เป็นอย่างดีซึ่งเป็นข้อดีอีกข้อนึงถ้าจะเปรียบเทียบกับโปรโตคอลอื่นๆ อุปกรณ์ที่เราได้รับมีสองชิ้นคือ RaZberry 7 Pro ซึ่งเป็น Shield ที่เสียบลงบน GPIO ของ Raspberry Pi เพื่อทำให้ Raspber […]

Clone ของบอร์ด “Black Pill” ที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ AT32 Cortex-M4F ราคา 18฿

49 cents black bill board AT32 MCU

บอร์ด“Black Pill” ที่มี STM32F4 Cortex-M4F MCU มีราคาถูกอยู่แล้ว แต่ฉันได้เจอ clone หรือ เลียนแบบ มีราคาที่ถูกกว่าเพียง 49 เซนต์((~18฿) (บวกค่าจัดส่งมาประเทศไทยอีกประมาณ 12฿) บอร์ดดังกล่าวใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ AT32 (หรือ AT32F4) Cortex-M4F ที่มีความเร็ว 240 MHz และรองรับ Arduino ส่วนคุณสมบัติอื่น ๆ ก็ค่อนข้างเหมือนกัน มี pin-headers 20 ขา 2 แถวสำหรับ GPIO, ส่SWD header, พอร์ต USB Type-C สำหรับจ่ายไฟและการเขียนโปรแกรม และปุ่มต่างๆ สเปคของบอร์ด WeAct “Black Pill”: ไมโครคอนโทรลเลอร์ – Artery Technology AT32F403ACGU7 Cortex-M4F MCU ที่ความเร็ว 240MHz พร้อม RAM 96 + 128KB, zero wait-state flash 256KB, wait-state flash 768KB; หมายเหตุ: ขนาด RAM และแฟลชสามารถกำหนดได้โดยผู้ใช้ และตัวเลขที่แสดงที่นี่เป็นความจุสูงสุด ที่เ […]

Sipeed เปิดตัว Tang Mega 138K Pro Dock ที่ใช้ GOWIN GW5AST FPGA และ RISC-V SoC

Sipeed Tang Mega 138K Pro Dock

Sipeed เปิดตัวบอร์ด FPGA ในตระกูล Tang ด้วย Tang Mega 138K Pro Dock ที่ใช้ GOWIN GW5AST SoC มี logic elements 138K และ AE350_SOC RISC-V hardcore unit ความเร็ว 800 MHz พร้อมด้วยอินเทอร์เฟส PCIe 3.0 x4, DVI Rx และ Tx, SFP+ cages 2 ช่อง, พอร์ต Gigabit Ethernet RJ45 และอื่นๆ เราจะเห็นบริษัท AMD (Xilinx) และ Microchip ผลิต FPGA SoC ที่มี hard core เช่น ตระกูล Zynq Ultrascale+ (4x Cortex-A53) หรือ PolarFire MPSoC (4x 64-bit SiFive U54 RISC-V cores) แต่นี่คือครั้งแรกที่ฉันเห็น GOWIN นำเสนอ FPGA + RISC-V SoC เนื่องจากชิ้นส่วนที่ฉันเคยรับรู้มาก่อนหน้านี้เป็นอุปกรณ์ FPGA เท่านั้น สเปค Sipeed Tang Mega 138K Pro Dock: System-on-Module – Sipeed Tang Mega 138K Pro SoC FPGA – GOWIN GW5AST-LV138FPG676A พร้อมด้วย 138,240 LUT4 1 […]

Microchip PIC18-Q20 : ไมโครคอนโทรลเลอร์ขนาดเล็ก พร้อม I3C

Microchip I3C MCU

PIC18-Q20 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ (MCU) ของบริษัท Microchip มีขนาดเล็ก มีจำนวนขาเพียง 14 และ 20 ขา (low-pin count) พร้อมอินเทอร์เฟส I3C สูงสุด 2 ชุด รวมถึงอินเทอร์เฟส I/O (MVIO) สามารถทำงานได้ในหลายๆ ระดับแรงดันไฟฟ้า MIPI I3C เปิดตัวครั้งแรกในปี 2014 แล้วถูกประกาศอย่างเป็นทางการในปี 2017 และกำหนดสเปคของ MIPI I3C ครั้งแรกในปีถัดมา เพื่อเป็นการอัปเดตแบบ backward compatible กับ I2C โดยใช้พลังงานน้อยลง และมีบิตเรทที่สูงขึ้น ทำให้สามารถแข่งขันกับ SPI ได้ เราเคยเห็นการใช้งานในซีพียูสำหรับแอปพลิเคชันและไมโครคอนโทรลเลอร์บางตัว แต่นี่คือครั้งแรกที่เราเห็น I3C ในไมโครคอนโทรลเลอร์ที่มีราคาถูกและมีจำนวนขาไม่มาก สเปค Microchip PIC18-Q20: แกนประมวลผล – PIC18 8-bit RISC microcontroller core @ 64 MHz หน่วยความจำ – RAM ขนาด […]